พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
พระกรุทั่วไป

สีวลี กรุวัดพระแก้ว พศ 2411


สีวลี กรุวัดพระแก้ว พศ 2411


สีวลี กรุวัดพระแก้ว พศ 2411

ชื่อพระ :
 สีวลี กรุวัดพระแก้ว พศ 2411
รายละเอียด :
 

พระสมเด็จเบญจรงค์ หรือพระสมเด็จวังหน้า หรือพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า เป็นพระเครื่องที่สร้างขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 อันเป็นปีแรกที่พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จขึ้นครองราชย์โดยเจ้าคุณกรมท่า (เจ้าพระยาภารุวงศ์มหาโกษาธิบดี ท้วม บุนนาค) เสนบดีกรมพระคลัง (ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งในปี พ.ศ. 2412) เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง และสมเด็จพระราชกรมวังบวรวิชัยชาญสถานมงคล อุปราชวังหน้าองค์สุดท้ายในรัชกาลที่ 5 เป็นองค์ประธานการสร้าง

จากหลักฐานเท่าที่ค้นคว้าได้ ทำให้สามารถวิเคราะห์ได้ความค่อนข้างชัดเจนว่า ตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 ต่อเนื่องไปถึงช่วงค่อนปลายปี พ.ศ.2412 ได้มีการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์พิมพ์ต่าง ๆ ขึ้นในบริเวณพระราชวังหน้า (บริเวณพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติและโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) และได้ใช้เตาเผาเครืองเบญจรงค์ส่วนพระองค์ของสมเด็จกรมพระราชวังบวรวิชัย ชาญฯ เป็นเตาอบสมเด็จพระเบญจรงค์ที่สร้างขึ้น สำหรับเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ที่กล่าวถึงนี้ ถือได้ว่าเป็นเตาแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และก็อยู่ภายในบริเวณวังหน้าด้วยเช่นกัน

ในส่วนของการจัดพิธีพุทธาภิเศกนั้น ได้กระทำกันภายในพระอุโบสถวัดบวรมงคลสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) ที่อยู่ภายในบริเวณพระราชวังหน้า (ติดกับโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) โดยได้กราบอาราธนาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามขณะนั้นมาเป็นองค์ประธานสงฆ์ และเป็นองค์ประธานนั่งปรกหลัก ส่วนพระคณาจารย์ (เกจิอาจารย์) ที่มีชื่อเสียงร่วมสมัยที่มานั่งปรกในพิธีด้วยนั้น เท่าที่พบชื่อจากหลักฐานก็มี หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จังหวัดพิจิตร หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง (วัดสว่างอารมณ์) จังหวัดนนทบุรี หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ หลวงปู่จาด วัดภาณุรังษี หลวงพ่อทัด (พระพุทธบาทปิลันธ์) วัดระฆังโฆสิตาราม (ทั้งสามวัดนี้อยู่ฝั่งธนบุรี) ฯลฯ

สำหรับวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์ในครั้งนั้น ก็เพื่อเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาให้จริญรุ่งเรืองยืนยาวและมั่นคงยิ่ง ๆ ขึ้นไป รวมทั้งมุ่งหวังให้เป็นวัตถุมงคลที่จะเหนี่ยวรั้งจิตใจของบุคคลที่ได้ไปครอบ ครองบูชา ให้ประกอบแต่กรรมดีและมีคุณธรรม อันจะส่งผลให้ชีวิตมีแต่ความผาสุขและจริญรุ่งเรืองตลอดไป ประการสำคัญสุดท้ายก็เพื่อเป็นการเทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ ลำดับที่ 5 ของราชวงศ์จักรี

โดยจำนวนการสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์นั้นมิอาจหาหลักฐานได้ว่ามีจำนวนมากน้อย เพียงใด แต่ก็พอจะประเมินวิเคราะห์ได้ว่า จำนวนการสร้างน่าจะมากกว่าหนึ่งพระธรรมขันธ์ (แปดหมื่นสี่พันองค์) อาจจะถึงห้าพระธรรมขันธ์ (สี่แสนสองหมื่นองค์) ก็ได้ ซึ่งเมื่อได้ศึกษาค้นคว้าลึกลงไปในรายละเอียด ก็พบว่าหลังจากพิธีมหาพุทธาภิเศกครั้งแรกในตอนปลายปี พ.ศ.2411 แล้ว ยังมีพิธีพุทธาพิเศกอีกเป็นคราว ๆ ไปจนถึงค่อนปลายปี พ.ศ. 2412 ด้วยเหตุพระที่สร้างมีจำนวนมาก มิอาจสร้างได้เสร็จและนำเข้าพิธีฯ ได้ในครั้งเดียว

พระสมเด็จเบญจรงค์เท่าที่พบเห็นในปัจจุบันอาจพูดได้ว่ามีมากกว่า 40 พิมพ์ เช่น พิมพ์พระกำลังแผ่นดิน(พิมพ์จิตรลดา) พิมพ์พระประธาน (พิมพ์พระสมเด็จฯ สี่เหลี่ยมชิ้นฟัก) พิมพ์พระภควัมบดี (ปิดตา) พิมพ์พระนาคปรก พิมพ์พระปรกโพธิ์ พิมพ์พระสมเด็จฯฐานสามชั้นเล็ก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จฯนั่งสมาธิลอยองค์ พิมพ์สมเด็จฯซุ้มระฆัง พิมพ์สมเด็จฯข้างฉัตร พิมพ์ทรงคชสาร พิมพ์สมเด็จฯเกศไชโย พิมพ์พระแก้วมรกตทรงเครื่อง 3 ฤดู พิมพ์สมาธิซุ้มรัศมี พิมพ์สมาธิม่านมงคล ฯลฯ ทั้งนี้ พระแต่พิมพ์มาจากฝีมือแกะแม่พิมพ์ของช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) ทั้งสิ้น สำหรับมวลสารและส่วนผสมของพระสมเด็จเบญจรงค์ 2411 ทุกพิมพ์ ทุกองค์ ประกอบด้วย
1.ผงหินขาว จากเทือกเขาเมืองอันฮุย มณฑลกวางใส ประเทศจีน
2.ผงวิเศษของวัดระฆังโฆสิตาราม ประกอบด้วย ผงอาขยาด ผงวิภัทร์รูปนาม และผงมูลกัจจายน์
3.ผงตัวยาวาสนาตามตำรา
4.ผงทองนพคุณ ผงตะไบทองรูปพรรณ
5.

พระสมเด็จเบญจรงค์ หรือพระสมเด็จวังหน้า หรือพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า เป็นพระเครื่องที่สร้างขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 อันเป็นปีแรกที่พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จขึ้นครองราชย์โดยเจ้าคุณกรมท่า (เจ้าพระยาภารุวงศ์มหาโกษาธิบดี ท้วม บุนนาค) เสนบดีกรมพระคลัง (ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งในปี พ.ศ. 2412) เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง และสมเด็จพระราชกรมวังบวรวิชัยชาญสถานมงคล อุปราชวังหน้าองค์สุดท้ายในรัชกาลที่ 5 เป็นองค์ประธานการสร้าง

จากหลักฐานเท่าที่ค้นคว้าได้ ทำให้สามารถวิเคราะห์ได้ความค่อนข้างชัดเจนว่า ตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 ต่อเนื่องไปถึงช่วงค่อนปลายปี พ.ศ.2412 ได้มีการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์พิมพ์ต่าง ๆ ขึ้นในบริเวณพระราชวังหน้า (บริเวณพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติและโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) และได้ใช้เตาเผาเครืองเบญจรงค์ส่วนพระองค์ของสมเด็จกรมพระราชวังบวรวิชัย ชาญฯ เป็นเตาอบสมเด็จพระเบญจรงค์ที่สร้างขึ้น สำหรับเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ที่กล่าวถึงนี้ ถือได้ว่าเป็นเตาแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และก็อยู่ภายในบริเวณวังหน้าด้วยเช่นกัน

ในส่วนของการจัดพิธีพุทธาภิเศกนั้น ได้กระทำกันภายในพระอุโบสถวัดบวรมงคลสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) ที่อยู่ภายในบริเวณพระราชวังหน้า (ติดกับโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) โดยได้กราบอาราธนาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามขณะนั้นมาเป็นองค์ประธานสงฆ์ และเป็นองค์ประธานนั่งปรกหลัก ส่วนพระคณาจารย์ (เกจิอาจารย์) ที่มีชื่อเสียงร่วมสมัยที่มานั่งปรกในพิธีด้วยนั้น เท่าที่พบชื่อจากหลักฐานก็มี หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จังหวัดพิจิตร หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง (วัดสว่างอารมณ์) จังหวัดนนทบุรี หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ หลวงปู่จาด วัดภาณุรังษี หลวงพ่อทัด (พระพุทธบาทปิลันธ์) วัดระฆังโฆสิตาราม (ทั้งสามวัดนี้อยู่ฝั่งธนบุรี) ฯลฯ

สำหรับวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์ในครั้งนั้น ก็เพื่อเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาให้จริญรุ่งเรืองยืนยาวและมั่นคงยิ่ง ๆ ขึ้นไป รวมทั้งมุ่งหวังให้เป็นวัตถุมงคลที่จะเหนี่ยวรั้งจิตใจของบุคคลที่ได้ไปครอบ ครองบูชา ให้ประกอบแต่กรรมดีและมีคุณธรรม อันจะส่งผลให้ชีวิตมีแต่ความผาสุขและจริญรุ่งเรืองตลอดไป ประการสำคัญสุดท้ายก็เพื่อเป็นการเทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ ลำดับที่ 5 ของราชวงศ์จักรี

โดยจำนวนการสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์นั้นมิอาจหาหลักฐานได้ว่ามีจำนวนมากน้อย เพียงใด แต่ก็พอจะประเมินวิเคราะห์ได้ว่า จำนวนการสร้างน่าจะมากกว่าหนึ่งพระธรรมขันธ์ (แปดหมื่นสี่พันองค์) อาจจะถึงห้าพระธรรมขันธ์ (สี่แสนสองหมื่นองค์) ก็ได้ ซึ่งเมื่อได้ศึกษาค้นคว้าลึกลงไปในรายละเอียด ก็พบว่าหลังจากพิธีมหาพุทธาภิเศกครั้งแรกในตอนปลายปี พ.ศ.2411 แล้ว ยังมีพิธีพุทธาพิเศกอีกเป็นคราว ๆ ไปจนถึงค่อนปลายปี พ.ศ. 2412 ด้วยเหตุพระที่สร้างมีจำนวนมาก มิอาจสร้างได้เสร็จและนำเข้าพิธีฯ ได้ในครั้งเดียว

พระสมเด็จเบญจรงค์เท่าที่พบเห็นในปัจจุบันอาจพูดได้ว่ามีมากกว่า 40 พิมพ์ เช่น พิมพ์พระกำลังแผ่นดิน(พิมพ์จิตรลดา) พิมพ์พระประธาน (พิมพ์พระสมเด็จฯ สี่เหลี่ยมชิ้นฟัก) พิมพ์พระภควัมบดี (ปิดตา) พิมพ์พระนาคปรก พิมพ์พระปรกโพธิ์ พิมพ์พระสมเด็จฯฐานสามชั้นเล็ก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จฯนั่งสมาธิลอยองค์ พิมพ์สมเด็จฯซุ้มระฆัง พิมพ์สมเด็จฯข้างฉัตร พิมพ์ทรงคชสาร พิมพ์สมเด็จฯเกศไชโย พิมพ์พระแก้วมรกตทรงเครื่อง 3 ฤดู พิมพ์สมาธิซุ้มรัศมี พิมพ์สมาธิม่านมงคล ฯลฯ ทั้งนี้ พระแต่พิมพ์มาจากฝีมือแกะแม่พิมพ์ของช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) ทั้งสิ้น สำหรับมวลสารและส่วนผสมของพระสมเด็จเบญจรงค์ 2411 ทุกพิมพ์ ทุกองค์ ประกอบด้วย
1.ผงหินขาว จากเทือกเขาเมืองอันฮุย มณฑลกวางใส ประเทศจีน
2.ผงวิเศษของวัดระฆังโฆสิตาราม ประกอบด้วย ผงอาขยาด ผงวิภัทร์รูปนาม และผงมูลกัจจายน์
3.ผงตัวยาวาสนาตามตำรา
4.ผงทองนพคุณ ผงตะไบทองรูปพรรณ
5.ผงตะไบขนวนพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ประจำรัชกาล
6.ผงขี้เหล็กไหลหรือผงแร่ยูเรเนียม
7

พระสมเด็จเบญจรงค์ หรือพระสมเด็จวังหน้า หรือพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า เป็นพระเครื่องที่สร้างขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 อันเป็นปีแรกที่พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จขึ้นครองราชย์โดยเจ้าคุณกรมท่า (เจ้าพระยาภารุวงศ์มหาโกษาธิบดี ท้วม บุนนาค) เสนบดีกรมพระคลัง (ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งในปี พ.ศ. 2412) เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง และสมเด็จพระราชกรมวังบวรวิชัยชาญสถานมงคล อุปราชวังหน้าองค์สุดท้ายในรัชกาลที่ 5 เป็นองค์ประธานการสร้าง

จากหลักฐานเท่าที่ค้นคว้าได้ ทำให้สามารถวิเคราะห์ได้ความค่อนข้างชัดเจนว่า ตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2411 ต่อเนื่องไปถึงช่วงค่อนปลายปี พ.ศ.2412 ได้มีการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์พิมพ์ต่าง ๆ ขึ้นในบริเวณพระราชวังหน้า (บริเวณพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติและโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) และได้ใช้เตาเผาเครืองเบญจรงค์ส่วนพระองค์ของสมเด็จกรมพระราชวังบวรวิชัย ชาญฯ เป็นเตาอบสมเด็จพระเบญจรงค์ที่สร้างขึ้น สำหรับเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ที่กล่าวถึงนี้ ถือได้ว่าเป็นเตาแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และก็อยู่ภายในบริเวณวังหน้าด้วยเช่นกัน

ในส่วนของการจัดพิธีพุทธาภิเศกนั้น ได้กระทำกันภายในพระอุโบสถวัดบวรมงคลสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า) ที่อยู่ภายในบริเวณพระราชวังหน้า (ติดกับโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) โดยได้กราบอาราธนาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามขณะนั้นมาเป็นองค์ประธานสงฆ์ และเป็นองค์ประธานนั่งปรกหลัก ส่วนพระคณาจารย์ (เกจิอาจารย์) ที่มีชื่อเสียงร่วมสมัยที่มานั่งปรกในพิธีด้วยนั้น เท่าที่พบชื่อจากหลักฐานก็มี หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จังหวัดพิจิตร หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง (วัดสว่างอารมณ์) จังหวัดนนทบุรี หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ หลวงปู่จาด วัดภาณุรังษี หลวงพ่อทัด (พระพุทธบาทปิลันธ์) วัดระฆังโฆสิตาราม (ทั้งสามวัดนี้อยู่ฝั่งธนบุรี) ฯลฯ

สำหรับวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์ในครั้งนั้น ก็เพื่อเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาให้จริญรุ่งเรืองยืนยาวและมั่นคงยิ่ง ๆ ขึ้นไป รวมทั้งมุ่งหวังให้เป็นวัตถุมงคลที่จะเหนี่ยวรั้งจิตใจของบุคคลที่ได้ไปครอบ ครองบูชา ให้ประกอบแต่กรรมดีและมีคุณธรรม อันจะส่งผลให้ชีวิตมีแต่ความผาสุขและจริญรุ่งเรืองตลอดไป ประการสำคัญสุดท้ายก็เพื่อเป็นการเทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ ลำดับที่ 5 ของราชวงศ์จักรี

โดยจำนวนการสร้างพระสมเด็จเบญจรงค์นั้นมิอาจหาหลักฐานได้ว่ามีจำนวนมากน้อย เพียงใด แต่ก็พอจะประเมินวิเคราะห์ได้ว่า จำนวนการสร้างน่าจะมากกว่าหนึ่งพระธรรมขันธ์ (แปดหมื่นสี่พันองค์) อาจจะถึงห้าพระธรรมขันธ์ (สี่แสนสองหมื่นองค์) ก็ได้ ซึ่งเมื่อได้ศึกษาค้นคว้าลึกลงไปในรายละเอียด ก็พบว่าหลังจากพิธีมหาพุทธาภิเศกครั้งแรกในตอนปลายปี พ.ศ.2411 แล้ว ยังมีพิธีพุทธาพิเศกอีกเป็นคราว ๆ ไปจนถึงค่อนปลายปี พ.ศ. 2412 ด้วยเหตุพระที่สร้างมีจำนวนมาก มิอาจสร้างได้เสร็จและนำเข้าพิธีฯ ได้ในครั้งเดียว

พระสมเด็จเบญจรงค์เท่าที่พบเห็นในปัจจุบันอาจพูดได้ว่ามีมากกว่า 40 พิมพ์ เช่น พิมพ์พระกำลังแผ่นดิน(พิมพ์จิตรลดา) พิมพ์พระประธาน (พิมพ์พระสมเด็จฯ สี่เหลี่ยมชิ้นฟัก) พิมพ์พระภควัมบดี (ปิดตา) พิมพ์พระนาคปรก พิมพ์พระปรกโพธิ์ พิมพ์พระสมเด็จฯฐานสามชั้นเล็ก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จฯนั่งสมาธิลอยองค์ พิมพ์สมเด็จฯซุ้มระฆัง พิมพ์สมเด็จฯข้างฉัตร พิมพ์ทรงคชสาร พิมพ์สมเด็จฯเกศไชโย พิมพ์พระแก้วมรกตทรงเครื่อง 3 ฤดู พิมพ์สมาธิซุ้มรัศมี พิมพ์สมาธิม่านมงคล ฯลฯ ทั้งนี้ พระแต่พิมพ์มาจากฝีมือแกะแม่พิมพ์ของช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) ทั้งสิ้น สำหรับมวลสารและส่วนผสมของพระสมเด็จเบญจรงค์ 2411 ทุกพิมพ์ ทุกองค์ ประกอบด้วย
1.ผงหินขาว จากเทือกเขาเมืองอันฮุย มณฑลกวางใส ประเทศจีน
2.ผงวิเศษของวัดระฆังโฆสิตาราม ประกอบด้วย ผงอาขยาด ผงวิภัทร์รูปนาม และผงมูลกัจจายน์
3.ผงตัวยาวาสนาตามตำรา
4.ผงทองนพคุณ ผงตะไบทองรูปพรรณ
5.ผงตะไบขนวนพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ประจำรัชกาล
6.ผงขี้เหล็กไหลหรือผงแร่ยูเรเนียม
7.น้ำยาผสมผงหินทำเครื่องกังไสจากประเทศจีน
8.สีต่าง ๆ ที่ใช้ทำเครื่องกังไสจากประเทศจีน
9.น้ำยาเคลือบเครื่องกังไสจากประเทศจีน
10.ผงจากเศษหินอ่อนจารึกพระคาถาธร

10.ผงจากเศษหินอ่อนจารึกพระคาถาธรรมิกราช

 
ราคาเปิดประมูล :
 1000 บาท
ราคาสูงสุด ขณะนี้ :
 1000 บาท
ราคาที่ต้องเพิ่มขึ้น ขั้นต่ำ :
 2500 บาท

เงื่อนไขการรับประกัน :
 รัปประกัน 365 วัน

ผู้ตั้งประมูล :
 เบญญา ราชภัณฑารักษ์
ที่อยู่ :
 39/380หมู่ที่1ตำบลคลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ไทย

เบอร์โทรติดต่อ :
  029514790, 0863992464
E-mail :
 chatkokilanan@hotmail.com

ชื่อบัญชี :
 เบญญา ราชภัณฑารักษ์
เลขที่ บัญชี :
 0167114222
ประเภท บัญชี :
 ออมทรัพย์
ธนาคาร :
 ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
สาขา :
 เดอะมอล์งามวงศ์วาน

วันที่ :
 Sat 12, Apr 2014 09:29:32
โดย : นานาลิโก    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   Sat 12, Apr 2014 09:29:32
 
 
ประมูล สีวลี กรุวัดพระแก้ว พศ 2411 : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.