พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
โชว์พระเกจิอาจารย์ทั่วไป

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 เนื้อทองเหลืองมาพร้อมบัตรรับรองพระแท้


หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 เนื้อทองเหลืองมาพร้อมบัตรรับรองพระแท้


หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 เนื้อทองเหลืองมาพร้อมบัตรรับรองพระแท้


บัตรรับรองพระแท้ รหัส : C5800458
หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร พ.ศ.2515
บัตรรับรองพระแท้ พระล้านนา.คอม

  บัตรรับรองพระแท้  
 

ประวัติการจัดสร้าง (ขอบคุณข้อมูลจาก Google)

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 มีลักษณะเหมือนกันกับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่ออกที่วัดบางคลาน เป็นการปั๊มด้วยเครื่อง พระเครื่องที่ สร้างออกมาจึงมีความคมชัด ความสูงประมาณ 2.5 ซม. ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. และเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่อุดกริ่งประมาณ 4.5 มม. การสร้างน่าจะสร้างเพียงพิมพ์เดียวไม่พบเห็นพิมพ์อื่น แต่พบเห็น 2 เนื้อคือเนื้อทองเหลืองกับเนื้ออัลปาก้า

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ( วัดพฤกษะวัน ) ปี15 นั้น มีวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างสืบเนื่องมาจาก ในเวลานั้น ทางวัดมูลเหล็ก,วัดวังจิก,วัดวังกระทึง,วัดหอไกรและวัดท้ายน้ำ ทั้ง 5 วัดต้องการจัดสร้างพระเครื่องและ วัตถุมงคลหลวงพ่อเงิน วัดบางคลานเพื่อสมนาคุณให้กับผู้ที่มีจิตศรัทธาบริจาคช่วยเหลือวัดในการซ่อม แซมและปรับปรุงสภาพศาสนสถานต่างๆ ภายในวัด แต่ทั้ง 5 วัดที่กล่าวมาแล้วนั้น มีทุนทรัพย์น้อยครับ พูดง่ายๆ ก็คือเป็นวัดที่จนในขณะนั้น เพราะฉะนั้น การฝากพระเครื่องร่วมพิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน ของวัดบางคลาน ซึ่งถือว่าเป็นพิธีที่ดีและยิ่งใหญ่จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด และอีกอย่างวัดบางคลานก็เป็นวัดของหลวงพ่อเงินเอง การที่ได้ปลุกเสกในอุโบสถของวัดบางคลานต้นตำรับหลวงพ่อเงิน จึงนับว่ามีคุณค่าและเปรียบเสมือนหลวงพ่อเงินท่านอนุญาตและเข้าร่วมพิธีปลุก เสกเองอีกด้วย และย่อมมีความศักดิ์สิทธิ์และเต็มไปด้วยคุณค่าและพุทธคุณอย่างหาที่เปรียบ ไม่ได้ ชนวนมวลสารหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร(พฤกษะวัน) ปี15

ชนวนและมวลสารต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 แผ่นทองเหลืองแผ่นทองแดงที่พระคณาจารย์ดังทั่วประเทศรวมพลังอธิษฐานจิตลง อักขระเลขยันต์และปลุกเสกมาเป็นอย่างดี หลังจากนั้นจึงนำมาหล่อหลอมเป็นแผ่นโลหะแต่ละชนิด

พิธีปลุกเสกรูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่1 เป็นปฐมฤกษ์ เป็นการปลุกเสกแผ่นโลหะซึ่งได้จากการหลอมโดยพระเกจิอาจารย์ 74 รูปจากทั่วประเทศ และทำพิธีที่วัดสุทัศน์ ที่กรุงเทพครับ หลังจากปลุกเสกแล้ว ได้มอบแผ่นโลหะเหล่านั้นให้โรงงานนำไปจัดสร้างเป็นวัตถุมงคลชนิดต่างๆ แล้วจึงนำมาส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจรับนับจำนวนอีกทีครับ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่2 เมื่อได้รับและตรวจนับจำนวนพระเครื่องวัตถุมงคลชนิดต่างๆครบถ้วนแล้ว ได้จัดพิธีปลุกเสกขึ้นที่วัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยพระเกจิอาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในขณะนั้นจากทั่วประเทศจำนวน 127 รูป

เมื่อเสร็จสิ้นพิธีการปลุกเสกครั้งที่ 2 แล้ว คณะกรรมการได้ขนพระเครื่องวัตถุมงคลเดินทางไปที่วัดบางคลาน โดยทางรถไฟ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่3 และเป็นพิธีการปลุกเสกครั้งสุดท้ายด้วย จัดพิธีขึ้น ที่วัดบางคลานในวันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยได้นิมนต์พระสงฆ์กจิอาจารย์จากทั่วประเทศมาบริกรรมปลุกเสกตามพิธีกรรมแบบ โบราณ ตลอดทั้งคืนเริ่มตั้งแต่ 4 โมงเย็นไปจนถึง 6 โมงเช้าโดยได้แบ่งพระเกจิอาจารย์เข้าปลุกเสกเป็นชุดๆละ16 รูป จำนวน 6 ชุด รวม 96 รูป โดยพระสงฆ์ปลุกเสกชุดละ 2 ชั่วโมงสลับกันไปอย่างไม่มีหยุดพักมีทั้งนั่งปรก บริกรรมภาวนาสวดคาถามหาทิพย์มนต์ พระคาถาพุทธาภิเษกและพระคาถาภาณวาร เป็นต้น รุ่งเช้าวันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2515 เป็นการฉลองสมโภช ภายหลังจากนั้น จึงเปิดโอกาสให้ผู้ที่สั่งจองวัตถุมงคลมารับพระเครื่องหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 ได้

ในการพุทธาภิเษกที่วัดบางคลานในครั้งนี้ อุโบสถวัดบางคลานยังก่อสร้างไม่เสร็จหลังคาก็ยังไม่มี ได้เกิดปรากฏการณ์พระราหูอมพระจันทร์ หรือจันทรุปราคาและเกิดเหตุการณ์อีกหลายอย่างจนทำให้ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 จำหน่ายจ่ายแจกหมดอย่างรวดเร็ว และราคาขยับขึ้นอยู่ตลอดเวลาจนทุกวันนี้

แต่พระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 นั้น หลังจากร่วมพิธีปลุกเสก กับพระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่วัดบางคลานแล้วนั้น ยังไม่ได้ออกให้ประชาชนทั่วไปบูชาในทันที หลวงปู่หน่าย วัดบ้านแจ้ง ท่านได้ปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 3 ไตรมาส แล้วจึงได้นำออกมาให้บูชาในปี 2518 ในงานฝังลูกนิมิตวัดหอไกร จึงหายห่วงประวัติการจัดสร้าง (ขอบคุณข้อมูลจาก Google)

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 มีลักษณะเหมือนกันกับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่ออกที่วัดบางคลาน เป็นการปั๊มด้วยเครื่อง พระเครื่องที่ สร้างออกมาจึงมีความคมชัด ความสูงประมาณ 2.5 ซม. ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. และเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่อุดกริ่งประมาณ 4.5 มม. การสร้างน่าจะสร้างเพียงพิมพ์เดียวไม่พบเห็นพิมพ์อื่น แต่พบเห็น 2 เนื้อคือเนื้อทองเหลืองกับเนื้ออัลปาก้า

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ( วัดพฤกษะวัน ) ปี15 นั้น มีวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างสืบเนื่องมาจาก ในเวลานั้น ทางวัดมูลเหล็ก,วัดวังจิก,วัดวังกระทึง,วัดหอไกรและวัดท้ายน้ำ ทั้ง 5 วัดต้องการจัดสร้างพระเครื่องและ วัตถุมงคลหลวงพ่อเงิน วัดบางคลานเพื่อสมนาคุณให้กับผู้ที่มีจิตศรัทธาบริจาคช่วยเหลือวัดในการซ่อม แซมและปรับปรุงสภาพศาสนสถานต่างๆ ภายในวัด แต่ทั้ง 5 วัดที่กล่าวมาแล้วนั้น มีทุนทรัพย์น้อยครับ พูดง่ายๆ ก็คือเป็นวัดที่จนในขณะนั้น เพราะฉะนั้น การฝากพระเครื่องร่วมพิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน ของวัดบางคลาน ซึ่งถือว่าเป็นพิธีที่ดีและยิ่งใหญ่จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด และอีกอย่างวัดบางคลานก็เป็นวัดของหลวงพ่อเงินเอง การที่ได้ปลุกเสกในอุโบสถของวัดบางคลานต้นตำรับหลวงพ่อเงิน จึงนับว่ามีคุณค่าและเปรียบเสมือนหลวงพ่อเงินท่านอนุญาตและเข้าร่วมพิธีปลุก เสกเองอีกด้วย และย่อมมีความศักดิ์สิทธิ์และเต็มไปด้วยคุณค่าและพุทธคุณอย่างหาที่เปรียบ ไม่ได้ ชนวนมวลสารหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร(พฤกษะวัน) ปี15

ชนวนและมวลสารต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 แผ่นทองเหลืองแผ่นทองแดงที่พระคณาจารย์ดังทั่วประเทศรวมพลังอธิษฐานจิตลง อักขระเลขยันต์และปลุกเสกมาเป็นอย่างดี หลังจากนั้นจึงนำมาหล่อหลอมเป็นแผ่นโลหะแต่ละชนิด

พิธีปลุกเสกรูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่1 เป็นปฐมฤกษ์ เป็นการปลุกเสกแผ่นโลหะซึ่งได้จากการหลอมโดยพระเกจิอาจารย์ 74 รูปจากทั่วประเทศ และทำพิธีที่วัดสุทัศน์ ที่กรุงเทพครับ หลังจากปลุกเสกแล้ว ได้มอบแผ่นโลหะเหล่านั้นให้โรงงานนำไปจัดสร้างเป็นวัตถุมงคลชนิดต่างๆ แล้วจึงนำมาส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจรับนับจำนวนอีกทีครับ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่2 เมื่อได้รับและตรวจนับจำนวนพระเครื่องวัตถุมงคลชนิดต่างๆครบถ้วนแล้ว ได้จัดพิธีปลุกเสกขึ้นที่วัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยพระเกจิอาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในขณะนั้นจากทั่วประเทศจำนวน 127 รูป

เมื่อเสร็จสิ้นพิธีการปลุกเสกครั้งที่ 2 แล้ว คณะกรรมการได้ขนพระเครื่องวัตถุมงคลเดินทางไปที่วัดบางคลาน โดยทางรถไฟ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่3 และเป็นพิธีการปลุกเสกครั้งสุดท้ายด้วย จัดพิธีขึ้น ที่วัดบางคลานในวันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยได้นิมนต์พระสงฆ์กจิอาจารย์จากทั่วประเทศมาบริกรรมปลุกเสกตามพิธีกรรมแบบ โบราณ ตลอดทั้งคืนเริ่มตั้งแต่ 4 โมงเย็นไปจนถึง 6 โมงเช้าโดยได้แบ่งพระเกจิอาจารย์เข้าปลุกเสกเป็นชุดๆละ16 รูป จำนวน 6 ชุด รวม 96 รูป โดยพระสงฆ์ปลุกเสกชุดละ 2 ชั่วโมงสลับกันไปอย่างไม่มีหยุดพักมีทั้งนั่งปรก บริกรรมภาวนาสวดคาถามหาทิพย์มนต์ พระคาถาพุทธาภิเษกและพระคาถาภาณวาร เป็นต้น รุ่งเช้าวันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2515 เป็นการฉลองสมโภช ภายหลังจากนั้น จึงเปิดโอกาสให้ผู้ที่สั่งจองวัตถุมงคลมารับพระเครื่องหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 ได้

ในการพุทธาภิเษกที่วัดบางคลานในครั้งนี้ อุโบสถวัดบางคลานยังก่อสร้างไม่เสร็จหลังคาก็ยังไม่มี ได้เกิดปรากฏการณ์พระราหูอมพระจันทร์ หรือจันทรุปราคาและเกิดเหตุการณ์อีกหลายอย่างจนทำให้ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 จำหน่ายจ่ายแจกหมดอย่างรวดเร็ว และราคาขยับขึ้นอยู่ตลอดเวลาจนทุกวันนี้

แต่พระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 นั้น หลังจากร่วมพิธีปลุกเสก กับพระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่วัดบางคลานแล้วนั้น ยังไม่ได้ออกให้ประชาชนทั่วไปบูชาในทันที หลวงปู่หน่าย วัดบ้านแจ้ง ท่านได้ปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 3 ไตรมาส แล้วจึงได้นำออกมาให้บูชาในปี 2518 ในงานฝังลูกนิมิตวัดหอไกร จึงหายห่วงประวัติการจัดสร้าง (ขอบคุณข้อมูลจาก Google)

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 มีลักษณะเหมือนกันกับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่ออกที่วัดบางคลาน เป็นการปั๊มด้วยเครื่อง พระเครื่องที่ สร้างออกมาจึงมีความคมชัด ความสูงประมาณ 2.5 ซม. ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. และเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่อุดกริ่งประมาณ 4.5 มม. การสร้างน่าจะสร้างเพียงพิมพ์เดียวไม่พบเห็นพิมพ์อื่น แต่พบเห็น 2 เนื้อคือเนื้อทองเหลืองกับเนื้ออัลปาก้า

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ( วัดพฤกษะวัน ) ปี15 นั้น มีวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างสืบเนื่องมาจาก ในเวลานั้น ทางวัดมูลเหล็ก,วัดวังจิก,วัดวังกระทึง,วัดหอไกรและวัดท้ายน้ำ ทั้ง 5 วัดต้องการจัดสร้างพระเครื่องและ วัตถุมงคลหลวงพ่อเงิน วัดบางคลานเพื่อสมนาคุณให้กับผู้ที่มีจิตศรัทธาบริจาคช่วยเหลือวัดในการซ่อม แซมและปรับปรุงสภาพศาสนสถานต่างๆ ภายในวัด แต่ทั้ง 5 วัดที่กล่าวมาแล้วนั้น มีทุนทรัพย์น้อยครับ พูดง่ายๆ ก็คือเป็นวัดที่จนในขณะนั้น เพราะฉะนั้น การฝากพระเครื่องร่วมพิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน ของวัดบางคลาน ซึ่งถือว่าเป็นพิธีที่ดีและยิ่งใหญ่จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด และอีกอย่างวัดบางคลานก็เป็นวัดของหลวงพ่อเงินเอง การที่ได้ปลุกเสกในอุโบสถของวัดบางคลานต้นตำรับหลวงพ่อเงิน จึงนับว่ามีคุณค่าและเปรียบเสมือนหลวงพ่อเงินท่านอนุญาตและเข้าร่วมพิธีปลุก เสกเองอีกด้วย และย่อมมีความศักดิ์สิทธิ์และเต็มไปด้วยคุณค่าและพุทธคุณอย่างหาที่เปรียบ ไม่ได้ ชนวนมวลสารหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร(พฤกษะวัน) ปี15

ชนวนและมวลสารต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 แผ่นทองเหลืองแผ่นทองแดงที่พระคณาจารย์ดังทั่วประเทศรวมพลังอธิษฐานจิตลง อักขระเลขยันต์และปลุกเสกมาเป็นอย่างดี หลังจากนั้นจึงนำมาหล่อหลอมเป็นแผ่นโลหะแต่ละชนิด

พิธีปลุกเสกรูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่1 เป็นปฐมฤกษ์ เป็นการปลุกเสกแผ่นโลหะซึ่งได้จากการหลอมโดยพระเกจิอาจารย์ 74 รูปจากทั่วประเทศ และทำพิธีที่วัดสุทัศน์ ที่กรุงเทพครับ หลังจากปลุกเสกแล้ว ได้มอบแผ่นโลหะเหล่านั้นให้โรงงานนำไปจัดสร้างเป็นวัตถุมงคลชนิดต่างๆ แล้วจึงนำมาส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจรับนับจำนวนอีกทีครับ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่2 เมื่อได้รับและตรวจนับจำนวนพระเครื่องวัตถุมงคลชนิดต่างๆครบถ้วนแล้ว ได้จัดพิธีปลุกเสกขึ้นที่วัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยพระเกจิอาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในขณะนั้นจากทั่วประเทศจำนวน 127 รูป

เมื่อเสร็จสิ้นพิธีการปลุกเสกครั้งที่ 2 แล้ว คณะกรรมการได้ขนพระเครื่องวัตถุมงคลเดินทางไปที่วัดบางคลาน โดยทางรถไฟ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่3 และเป็นพิธีการปลุกเสกครั้งสุดท้ายด้วย จัดพิธีขึ้น ที่วัดบางคลานในวันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยได้นิมนต์พระสงฆ์กจิอาจารย์จากทั่วประเทศมาบริกรรมปลุกเสกตามพิธีกรรมแบบ โบราณ ตลอดทั้งคืนเริ่มตั้งแต่ 4 โมงเย็นไปจนถึง 6 โมงเช้าโดยได้แบ่งพระเกจิอาจารย์เข้าปลุกเสกเป็นชุดๆละ16 รูป จำนวน 6 ชุด รวม 96 รูป โดยพระสงฆ์ปลุกเสกชุดละ 2 ชั่วโมงสลับกันไปอย่างไม่มีหยุดพักมีทั้งนั่งปรก บริกรรมภาวนาสวดคาถามหาทิพย์มนต์ พระคาถาพุทธาภิเษกและพระคาถาภาณวาร เป็นต้น รุ่งเช้าวันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2515 เป็นการฉลองสมโภช ภายหลังจากนั้น จึงเปิดโอกาสให้ผู้ที่สั่งจองวัตถุมงคลมารับพระเครื่องหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 ได้

ในการพุทธาภิเษกที่วัดบางคลานในครั้งนี้ อุโบสถวัดบางคลานยังก่อสร้างไม่เสร็จหลังคาก็ยังไม่มี ได้เกิดปรากฏการณ์พระราหูอมพระจันทร์ หรือจันทรุปราคาและเกิดเหตุการณ์อีกหลายอย่างจนทำให้ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 จำหน่ายจ่ายแจกหมดอย่างรวดเร็ว และราคาขยับขึ้นอยู่ตลอดเวลาจนทุกวันนี้

แต่พระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 นั้น หลังจากร่วมพิธีปลุกเสก กับพระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่วัดบางคลานแล้วนั้น ยังไม่ได้ออกให้ประชาชนทั่วไปบูชาในทันที หลวงปู่หน่าย วัดบ้านแจ้ง ท่านได้ปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 3 ไตรมาส แล้วจึงได้นำออกมาให้บูชาในปี 2518 ในงานฝังลูกนิมิตวัดหอไกร จึงหายห่วงประวัติการจัดสร้าง (ขอบคุณข้อมูลจาก Google)

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 มีลักษณะเหมือนกันกับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่ออกที่วัดบางคลาน เป็นการปั๊มด้วยเครื่อง พระเครื่องที่ สร้างออกมาจึงมีความคมชัด ความสูงประมาณ 2.5 ซม. ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. และเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่อุดกริ่งประมาณ 4.5 มม. การสร้างน่าจะสร้างเพียงพิมพ์เดียวไม่พบเห็นพิมพ์อื่น แต่พบเห็น 2 เนื้อคือเนื้อทองเหลืองกับเนื้ออัลปาก้า

หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ( วัดพฤกษะวัน ) ปี15 นั้น มีวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างสืบเนื่องมาจาก ในเวลานั้น ทางวัดมูลเหล็ก,วัดวังจิก,วัดวังกระทึง,วัดหอไกรและวัดท้ายน้ำ ทั้ง 5 วัดต้องการจัดสร้างพระเครื่องและ วัตถุมงคลหลวงพ่อเงิน วัดบางคลานเพื่อสมนาคุณให้กับผู้ที่มีจิตศรัทธาบริจาคช่วยเหลือวัดในการซ่อม แซมและปรับปรุงสภาพศาสนสถานต่างๆ ภายในวัด แต่ทั้ง 5 วัดที่กล่าวมาแล้วนั้น มีทุนทรัพย์น้อยครับ พูดง่ายๆ ก็คือเป็นวัดที่จนในขณะนั้น เพราะฉะนั้น การฝากพระเครื่องร่วมพิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน ของวัดบางคลาน ซึ่งถือว่าเป็นพิธีที่ดีและยิ่งใหญ่จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด และอีกอย่างวัดบางคลานก็เป็นวัดของหลวงพ่อเงินเอง การที่ได้ปลุกเสกในอุโบสถของวัดบางคลานต้นตำรับหลวงพ่อเงิน จึงนับว่ามีคุณค่าและเปรียบเสมือนหลวงพ่อเงินท่านอนุญาตและเข้าร่วมพิธีปลุก เสกเองอีกด้วย และย่อมมีความศักดิ์สิทธิ์และเต็มไปด้วยคุณค่าและพุทธคุณอย่างหาที่เปรียบ ไม่ได้ ชนวนมวลสารหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร(พฤกษะวัน) ปี15

ชนวนและมวลสารต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 แผ่นทองเหลืองแผ่นทองแดงที่พระคณาจารย์ดังทั่วประเทศรวมพลังอธิษฐานจิตลง อักขระเลขยันต์และปลุกเสกมาเป็นอย่างดี หลังจากนั้นจึงนำมาหล่อหลอมเป็นแผ่นโลหะแต่ละชนิด

พิธีปลุกเสกรูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่1 เป็นปฐมฤกษ์ เป็นการปลุกเสกแผ่นโลหะซึ่งได้จากการหลอมโดยพระเกจิอาจารย์ 74 รูปจากทั่วประเทศ และทำพิธีที่วัดสุทัศน์ ที่กรุงเทพครับ หลังจากปลุกเสกแล้ว ได้มอบแผ่นโลหะเหล่านั้นให้โรงงานนำไปจัดสร้างเป็นวัตถุมงคลชนิดต่างๆ แล้วจึงนำมาส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจรับนับจำนวนอีกทีครับ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่2 เมื่อได้รับและตรวจนับจำนวนพระเครื่องวัตถุมงคลชนิดต่างๆครบถ้วนแล้ว ได้จัดพิธีปลุกเสกขึ้นที่วัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยพระเกจิอาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในขณะนั้นจากทั่วประเทศจำนวน 127 รูป

เมื่อเสร็จสิ้นพิธีการปลุกเสกครั้งที่ 2 แล้ว คณะกรรมการได้ขนพระเครื่องวัตถุมงคลเดินทางไปที่วัดบางคลาน โดยทางรถไฟ

พิธีปลุกเสกหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ครั้งที่3 และเป็นพิธีการปลุกเสกครั้งสุดท้ายด้วย จัดพิธีขึ้น ที่วัดบางคลานในวันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยได้นิมนต์พระสงฆ์กจิอาจารย์จากทั่วประเทศมาบริกรรมปลุกเสกตามพิธีกรรมแบบ โบราณ ตลอดทั้งคืนเริ่มตั้งแต่ 4 โมงเย็นไปจนถึง 6 โมงเช้าโดยได้แบ่งพระเกจิอาจารย์เข้าปลุกเสกเป็นชุดๆละ16 รูป จำนวน 6 ชุด รวม 96 รูป โดยพระสงฆ์ปลุกเสกชุดละ 2 ชั่วโมงสลับกันไปอย่างไม่มีหยุดพักมีทั้งนั่งปรก บริกรรมภาวนาสวดคาถามหาทิพย์มนต์ พระคาถาพุทธาภิเษกและพระคาถาภาณวาร เป็นต้น รุ่งเช้าวันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2515 เป็นการฉลองสมโภช ภายหลังจากนั้น จึงเปิดโอกาสให้ผู้ที่สั่งจองวัตถุมงคลมารับพระเครื่องหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 ได้

ในการพุทธาภิเษกที่วัดบางคลานในครั้งนี้ อุโบสถวัดบางคลานยังก่อสร้างไม่เสร็จหลังคาก็ยังไม่มี ได้เกิดปรากฏการณ์พระราหูอมพระจันทร์ หรือจันทรุปราคาและเกิดเหตุการณ์อีกหลายอย่างจนทำให้ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 จำหน่ายจ่ายแจกหมดอย่างรวดเร็ว และราคาขยับขึ้นอยู่ตลอดเวลาจนทุกวันนี้

แต่พระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 นั้น หลังจากร่วมพิธีปลุกเสก กับพระรูปเหมือนปั๊มหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี15 ที่วัดบางคลานแล้วนั้น ยังไม่ได้ออกให้ประชาชนทั่วไปบูชาในทันที หลวงปู่หน่าย วัดบ้านแจ้ง ท่านได้ปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 3 ไตรมาส แล้วจึงได้นำออกมาให้บูชาในปี 2518 ในงานฝังลูกนิมิตวัดหอไกร จึงหายห่วง

 
     
โดย : ณัฐพันธ์ พงค์ชัย   [Feedback +0 -0] [+0 -0]   Sun 28, Aug 2016 17:03:54
 
 
หลวงพ่อเงิน วัดหอไกร ปี15 เนื้อทองเหลืองมาพร้อมบัตรรับรองพระแท้ : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.