พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
ร่วมด้วยจ้วยกั๋นผ่อ

พระคงเขียวหินครก


พระคงเขียวหินครก


พระคงเขียวหินครก

   
   
     
โดย : พีรดนย์   [Feedback +1 -0] [+0 -0]   Mon 5, May 2014 06:02:21
 




 
 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 1 ] Mon 5, May 2014 06:10:02

 

ไม่ไดีครับ ผิดเนื้อผิดพิมพ์

 
โดย : ayak12    [Feedback +14 -0] [+2 -0]   [ 2 ] Mon 5, May 2014 21:55:32





 

ayak12 ดูยังงัยครับว่าองค์นี้พิมพ์ทรงเนื้อไม่ดี พระคงเขียวหินครกเกิดจากการที่พระคงได้รับอุณหภูมิในเตาเผามากที่สุดทำให้หดเล็กกว่าปกติและพระคงบางองค์อาจจะบิดเบี้ยวบ้างเป็นธรรมชาติของพระคงสีนี้และทำให้พระคงมีสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้มเหมือนหินครกครับท่าน เอาเป็นว่าถ้าผมมีโอกาศที่จะไปตรวจความหนาแนนขององค์พระคงองค์นี้ที่ กรมศิลปากรณ์ว่ามีอายุถึง 1300ปีหรือไม่ แล้วผมจะเอามาให้คุณดูอีกที่ครับท่าน แล้วคุณดูที่ใบโพธิ์ครับ คุณว่าพระคงองค์นี้เก๊หรือครับ มันปลอมได้ขนาดนี้เลยหรือท่าน ผมว่าหลายๆท่านดูแล้วไม่คิดเหมือนคุณก็มีครับ แล้วดูตัวอย่างที่ผมเอามาลงให้ดูพระคงของผมอาจจะถ่ายโดยที่แสงไม่พอแต่ถ้าแสงพอพระคงของผมสีจะเขียวจัดมาก ด้วยความเคารพ

 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 3 ] Tue 6, May 2014 03:16:28









 
 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 4 ] Tue 6, May 2014 03:59:42









 
 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 5 ] Tue 6, May 2014 04:01:15









 

พระอยู่ในอุณหภูมิที่มากถึงร้อนมากในเตา ก็สามารถบิดเบี้ยวเป็นธรรมชาติของพระคงเขียวหินครก

 

พระคง"ดำ"ว่าหายากแล้วพระคงเขียวหินครกแบบนี้หายากยิ่งกว่า พระคงเขียวหินครกเกิดจากอะไร พระคงเขียวหินครกเกิดจากการที่พระคงได้รับอุณหภูมิในเตาเผามากที่สุดทำให้หดเล็กกว่าปกติและพระคงบางองค์อาจจะบิดเบี้ยวบ้างเป็นธรรมชาติของพระคงสีนี้และทำให้พระคงมีสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้มเหมือนหินครกจึงเป็นที่มาของคำว่า พระคงเขียวหินครก พระคงเขียวต่างกันกับพระคงทั่วไปที่สีเท่านั้น ตำหนิแม่พิมพ์ก็จะไม่ต่างกันเพียงแต่ขนาดอาจจะดูเล็กกว่าเล็กน้อยเท่านั้น และปัจจุบันพระคงที่มีสีเขียวหินครกมีค่าความนิยมกว่าพระคงสีทั่วๆไปอยู่มากทำให้มีการนำเอาพระคงแท้ๆไปเผาใหม่เพื่อให้มีสีเขียวหินครก ทำให้มีราคาเพิ่มมากขึ้นกว่าความเป็นจริง
"วิธีสังเกตว่าพระคงองค์นั้นเป็นสีเขียวหินครกเดิม หรือว่าเกิดจากการนำไปเผาใหม่นั้น สังเกตได้ดังนี้ พระคงเขียวหินครก แต่เดิมนั้นการเผาจะเป็นลักษณะที่เผาแบบค่อยๆเผาทำให้พระมีการหดตัวแบบช้าๆ ผิวเรียบตึง ไม่ปรากฎรอยราน"

 

"แต่หากเป็นพระที่นำไปเผาใหม่แล้ว พระซึ่งเป็นเนื้อเก่าหากไปถูกความร้อนสูงๆอีกครั้งจะทำให้ผิวพระเกิดรอยรานตามผิวพระ บางองค์ที่นำไปเผาใหม่หากได้รับความร้อนมากเกินไปก็ทำให้พระถึงกับแตกเลยทีเดียวระคงเขียวอาจจะมีบิดเบี้ยวบ้างเป็นธรรมชาติ เพราะพระอยู่ในอุณหภูมิที่มากที่สุด

พระพระคง"ดำ"ว่าหายากแล้วพระคงเขียวหินครกแบบนี้ก็ใช่ว่าจะหาง่ายเช่นเดียวกันครับ พระคงเขียวหินครกเกิดจากอะไร พระคงเขียวหินครกเกิดจากการที่พระคงได้รับอุณหภูมิในเตาเผามากที่สุดทำให้หดเล็กกว่าปกติและพระคงบางองค์อาจจะบิดเบี้ยวบ้างเป็นธรรมชาติของพระคงสีนี้และทำให้พระคงมีสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้มเหมือนหินครกจึงเป็นที่มาของคำว่า พระคงเขียวหินครก พระคงเขียวต่างกันกับพระคงทั่วไปที่สีเท่านั้น ตำหนิแม่พิมพ์ก็จะไม่ต่างกันเพียงแต่ขนาดอาจจะดูเล็กกว่าเล็กน้อยเท่านั้น และปัจจุบันพระคงที่มีสีเขียวหินครกมีค่าความนิยมกว่าพระคงสีทั่วๆไปอยู่มากทำให้มีการนำเอาพระคงแท้ๆไปเผาใหม่เพื่อให้มีสีเขียวหินครก ทำให้มีราคาเพิ่มมากขึ้นกว่าความเป็นจริง


"วิธีสังเกตว่าพระคงองค์นั้นเป็นสีเขียวหินครกเดิม หรือว่าเกิดจากการนำไปเผาใหม่นั้น สังเกตได้ดังนี้ พระคงเขียวหินครก แต่เดิมนั้นการเผาจะเป็นลักษณะที่เผาแบบค่อยๆเผาทำให้พระมีการหดตัวแบบช้าๆ ผิวเรียบตึง ไม่ปรากฎรอยราน"

"แต่หากเป็นพระที่นำไปเผาใหม่แล้ว พระซึ่งเป็นเนื้อเก่าหากไปถูกความร้อนสูงๆอีกครั้งจะทำให้ผิวพระเกิดรอยรานตามผิวพระ บางองค์ที่นำไปเผาใหม่หากได้รับความร้อนมากเกินไปก็ทำให้พระถึงกับแตกเลยทีเดียวคง"ดำ"ว่าหายากแล้วพระคงเขียวหินครกแบบนี้ก็ใช่ว่าจะหาง่ายเช่นเดียวกันครับ พระคงเขียวหินครกเกิดจากอะไร พระคงเขียวหินครกเกิดจากการที่พระคงได้รับอุณหภูมิในเตาเผามากที่สุดทำให้หดเล็กกว่าปกติและพระคงบางองค์อาจจะบิดเบี้ยวบ้างเป็นธรรมชาติของพระคงสีนี้และทำให้พระคงมีสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้มเหมือนหินครกจึงเป็นที่มาของคำว่า พระคงเขียวหินครก พระคงเขียวต่างกันกับพระคงทั่วไปที่สีเท่านั้น ตำหนิแม่พิมพ์ก็จะไม่ต่างกันเพียงแต่ขนาดอาจจะดูเล็กกว่าเล็กน้อยเท่านั้น และปัจจุบันพระคงที่มีสีเขียวหินครกมีค่าความนิยมกว่าพระคงสีทั่วๆไปอยู่มากทำให้มีการนำเอาพระคงแท้ๆไปเผาใหม่เพื่อให้มีสีเขียวหินครก ทำให้มีราคาเพิ่มมากขึ้นกว่าความเป็นจริง
"วิธีสังเกตว่าพระคงองค์นั้นเป็นสีเขียวหินครกเดิม หรือว่าเกิดจากการนำไปเผาใหม่นั้น สังเกตได้ดังนี้ พระคงเขียวหินครก แต่เดิมนั้นการเผาจะเป็นลักษณะที่เผาแบบค่อยๆเผาทำให้พระมีการหดตัวแบบช้าๆ ผิวเรียบตึง ไม่ปรากฎรอยราน"
"แต่หากเป็นพระที่นำไปเผาใหม่แล้ว พระซึ่งเป็นเนื้อเก่าหากไปถูกความร้อนสูงๆอีกครั้งจะทำให้ผิวพระเกิดรอยรานตามผิวพระ บางองค์ที่นำไปเผาใหม่หากได้รับความร้อนมากเกินไปก็ทำให้พระถึงกับแตกเลยทีเดียว

 

 

 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 6 ] Wed 7, May 2014 11:03:38









 
 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 7 ] Wed 7, May 2014 11:10:07

 

ผมไม่ค่อยได้เข้ามาเล่นบ่อยเหมือนแต่ก่อน พอดีเห็นท่านลงกระทู้ก็เลยเข้ามาอ่าน  ก่อนอื่นก็ต้องขอโทษอยางแรง  เพราะผมอ่านแล้วผมก็หัวเราะอยู่คนเดียว  ผมไม่ค่อยออกไปไหนเลยไม่รู้ว่า สมัยนี้เขามีการตรวจหาความหนาแน่นของพระด้วย  เพราะสมัยก่อนผมเห็นแต่เขาตรวจหาคลื่นพลัง  ส่วนตัวผมเองก็เก็บพระกรุไว้เยอะ ถ้ามีเวลาจะเอาพระไปตรวจบ้างเพราะไม่รู้องค์ไหนหนาแน่นมาก หนาแน่นน้อย  เพราะปัจจุบันผมใช้แต่กล้อง 10X ราคา 80 บาท มาจะ 10 ปีแล้ว เลยไม่ทันสมัย เอาไว้เพื่อเขามีเครื่องตรวจความหนาแน่นแบบพกพาจะได้ซื้อหาเก็บไว้  เจอพระคงเขียวสวยๆจะได้ใช้เครื่องตรวจก่อนซื้อ ถ้าซื้อมาแล้วค่อยไปตรวจผมแย่เลย

ผมเองก็อยากจะช่วยตอบเหมือนกัน   แต่รอให้คุณไปตรวจความหนาแน่นให้ได้แน่นอนก่อนดีกว่า  ถ้าคุณมาเสาร์อาทิตย์ กรมศิลปากรเขาปิด ผมอยากแนะนำให้เอาพระคงเขียวไปแห่ ที่ศูนย์พระเครื่องมนเฑียน ก่อนอยู่แถวๆ สีลม ถ้าเกิดว่าเขายังไม่ถามซื้อ ก็ต้องรอวันจันทร์ เอาตรวจความหนาแน่นต่อ  เสร็จแล้วแจ้งผลด้วย จะได้รู้ว่าตรงกันไหม

 

อเล็ก พระกรุ

 
โดย : alexanderulic    [Feedback +17 -0] [+0 -0]   [ 8 ] Wed 7, May 2014 12:51:24

 

เก่งขนาดนี้ จะมาถามทำไม ครับท่าน emo_8

 
โดย : noui004    [Feedback +18 -0] [+0 -0]   [ 9 ] Wed 7, May 2014 17:51:58

 
ตอบคุณ อเล็ก 
 
ต้องขออภัยด้วยที่ผมอาจจะใช้คำที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิทยาศาตร์(ตรวจความหนาแนน) จริงๆแล้วผมได้สอบถามเพิ่ลผมที่ทำงานอยู่ที่กรมศิลป์ คำที่ใช้ตามหลักวิทย์คือ เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ที่เรียกว่า คาร์บอนเดทติงค์ (Carbon Dating)ซึ่งเป็นการวัดปริมาณการสลายตัวของธาตุคาร์บอน -14 ในวัตถุที่เป็นส่วนประกอบของโบราณวัตถุชิ้นนั้น ๆ เพื่อกำหนดอายุ และออกใบรับรองให้ (ว่างๆเรียนเชิญท่านมาตรวจได้ครับเผื่อจะมีพระที่อาจจะรอดหูรอดตาท่านก็เป็นได้) ติดต่อที่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ โทร. 0-2401-9885 ได้ในเวลาทำการ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30–16.30 น.ซึ้งให้ผลแม่นยำมากเพราะนักวิทย์เหล่านั้นไม่ใช่เซียนพระ ซึ้งเซียนพระในนิยามของกระผมคือ นักขายแร่แปลธาตุ พระจริงเป็นพระปลอมพระปลอมเป็นพระจริง จริงไม่จริงท่านไม่ต้องตอบ ผมว่าท่านก็รู้อยู่ในใจท่าน ยกตัวอย่างการประกวดพระ มีลุงท่านนึงเอาพระไปประกวดพระลุงได้รางวัลที่1 มาเยอะมากหลายใบแล้วอยู่ดีๆมีอยู่งานนึงลุงแกก็เอาพระท่านไปประกวดเป็นองค์เดืมที่เคยประกวด ช่วงการตรวจพระมีเซียนพระที่เป็นกรรมการท่านนึงขอเช่าพระลุงแก แต่ด้วยลุงแกรักพระองค์นี้ของแก จึงตอบปฎิเสธไปว่าไม่ให้เช่า หลังจากนั้นกรรมการ(เซียนพระ)กลุ่มนี้ตีพระลุงแกเก๊เฉยเลยหลังจากนั้นเป้นต้นมาลุงแกไม่เอาพระไปประกวดอีกเลย นี้ครับเซียนพระในนิยามของผม ซึ้งผมขอออกตัวใว้ก่อนเลยว่าผมไม่ได้กล่าวหรืออ้างอิงถึงใครครับเป็นเพียงตัวอย่างหรือนิยามของผมเท่านั้น และที่ท่านบอกให้ผมไปที่ศูนย์ มนเทียนอะไรนั้นผมบอกได้เลยว่าผมไม่ไปแน่ๆ เพราะผมไม่รู้จะไปทำไม ไปเพื่อ!!!!! ผมไม่สนใจอยู่แล้ว แท้ไม่แท้มันอยู่ที่ใจผมแล้ว และผมก็เป็นแค่คนเล่นพระในเชิงอนุรักษ์เท่านั้น ไม่ได้มีพระเพื่อการพาณิชย์และที่ผมเอาพระมาให้ดูกันเพราะผมก็แค่อยากจะแลกเปลี่ยนความรู้ก็เท่านั้น ไม่ได้มีจุดประสงค์อื่นเลย พระผมจะเป็นยังงัยผมก็เก็บไม่ขายไม่ใช้เช่าอยู่แล้วเพราะพระองค์นี้พ่อผมให้มาได้มาเกือบ40ปีแล้วครับท่านด้วยความเคารพ
 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 10 ] Wed 7, May 2014 18:43:55

 

noui004

ผมไม่ได้เก่งอะไรครับ เพียงแต่แค่งงๆเท่านั้น มาสวดพระว่าไม่ดี แต่ไม่อธิบายอะไรเลย มันง่ายไปหรือป่าวครับ จุดประสงค์ของผมแค่อยากแลกเปลียนความรู้เท่านั้นครับ บอกผิดเนื้อผิดพิมพ์ แล้วใบโพธิ์หล่ะครับดูหรือป่าว มันปลอมได้ขนาดนั้นเลยหรือครับ ด้วยความนับถือ

 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 11 ] Wed 7, May 2014 18:45:06

 

สำหรับเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ที่เรียกว่า คาร์บอนเดทติงค์ (Carbon Dating)เขาสามารถตรวจวัตถุได้ตั้งแต่อายุ 50ปีขึ้นไปครับ

 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 12 ] Wed 7, May 2014 19:03:00

 

สำหรับเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ที่เรียกว่า คาร์บอนเดทติงค์ (Carbon Dating)เขาสามารถตรวจวัตถุได้ตั้งแต่อายุ 50ปีขึ้นไปครับ

 
โดย : พีรดนย์    [Feedback +1 -0] [+0 -0]   [ 13 ] Wed 7, May 2014 19:03:01

 

ดูคุณแก่วิชาการและเน้นเชิงวิทยาศาตร์อย่างมาก ผมก็ยืนยันอีกเสียงว่าพระภาพแรกที่ลง"เก๊" ตามที่ท่านแรกกรุณาบอกคุณไปแล้ว แต่คุณไม่เข้าใจคำว่า"ผิดพิมพ์-ผิดเนื้อ" นั่นคือคำตอบชัดๆครอบคลุมหมดแล้ว คนกรมศิลป์ได้แต่อ่านพุทธศิลป์ ไม่มีความชำนาญในการดูเนื้อพระเก๊-แท้เสียส่วนมาก เวลาเจอกรุพระก็ยังต้องอาศัยคนวงการพระช่วยดูให้ไม่เชื่อคุณก็ไปถามคนกรมศิลป์ดูนะครับ ส่วนการดูเป็นมันเกิดจากการได้เห็นได้ศึกษาของแท้ ยิ่งมากยิ่งได้ความรู้ ใช้เวลา ไม่สามารถจะมาอธิบายให้คุณรู้ทันทีทันใดได้หรอกครับ จึงมีการให้ความเคารพ-นับ ผู้เป็นจริง รู้จริง มันสามารถแบ่งแยกได้ เป็นมาตรฐานได้ อย่างท่านอเล็กซ์ที่เข้ามาตอบคุณด้วยความกรุณาแบบสั้นๆและจริงใจด้วยความจริง ไม่มีส่วนได้เสียอะไรกับคุณเลย กลับถูกคุณไม่พอใจตั้งคำถามและเอาอะไรต่ออะไรมาว่าเสียยาว เน้นให้สั้นๆสุดท้ายอีกครั้ง หากพระแท้ ไปสนามใดก็ขายได้ราคาอย่างแน่นอน หากเก๊คุณยื่นเข้าไปเขาก็ส่งคืนรู้ผล เร็วกว่าไปเทสคาร์บอนด์อะไรนั่นเสียอีก เครื่องนั้นนะสู้กล้องส่องพระไม่ได้แน่นอน  ชัวร์เต็ม100% ขออภัยหากไม่ถูกใจ... 

 
โดย : ตี๋แสงจันทร์    [Feedback +42 -1] [+0 -0]   [ 14 ] Thu 8, May 2014 20:04:29

 

ขออภัยเอ่ยชื่อผิด จะบอกว่าท่านayak ไม่ใช่ท่านอเล็กซ์ครับ

 
โดย : ตี๋แสงจันทร์    [Feedback +42 -1] [+0 -0]   [ 15 ] Fri 9, May 2014 14:20:12

 

ร่วมด้วยจ้วยกั๋นผ่อเน้อ องค์แรกที่ถามนะ ผมว่าบ่ดีค้าบ  อย่าว่ากันเน้อคับ จ้วยกั๋นๆ

 
โดย : เมยริเวอร์    [Feedback +2 -0] [+0 -0]   [ 16 ] Fri 9, May 2014 17:22:09

 

ผมก็ไม่รู้จะอธิบายยังไง...รู้แค่ว่านอกจากองค์แรกที่ท่านลงถามจะเก้แล้ว องค์ที่ท่านนำรูปมาลงเปรียบเทียบ ก็เป็นพระเก้อีกที่แน่ๆมี 2 องค์และมีอีกองค์ภาพคลุมเครือไม่ชัดเจนต้องดูหลังประกอบ....ถ้าท่านอยากศึกษาจริงๆไม่ต้องไปหรอกครับวัดค่าความหนาแน่นวัดคาร์บอน...เพียงแต่ทานลงทุนซื้อพระแท้ๆสักองค์ 2 องค์ มาส่องสักเดือน2เดือน ท่านจะเข้าใจเองละครับว่าดินเก่าดินลำพูนเป็นแบบใหน พิมพ์ตามมาตราฐานเป็นยังไงแล้วท่านจะรู้เอง

 
โดย : ayak12    [Feedback +14 -0] [+2 -0]   [ 17 ] Fri 9, May 2014 22:16:25

 

ผมว่าแบบนี้ไม่ต้องมาลงกระดานร่วมด้วยช่วยกันผ่อดีกว่าครับไปลงกระคานอื่นที่เขาว่าพระคุณแท้ดีกว่าครับที่นี่มีแต่พี่น้องที่เข้าเพื่อให้คำชี้แนะครับเช่นอ เล็ก คุณตี๋แสงจันทร์และอีกหลายๆท่านซึ่งท่านที่ผมเอ่ยนามมานี้เจตนาดีกันทั้งนั้นครับไม่เคยคิดที่จะมาทำลายหรือให้ร้ายใครครับจบแค่นี้ครับ

 
โดย : ต้นขนส่ง    [Feedback +15 -0] [+5 -0]   [ 18 ] Fri 9, May 2014 22:51:04

 

ปล่อยหื้อเขาเล่นแท้ไปคนเดียวเตอะครับ หื้อเปิ้นหลงทางอยู่อั้นเน้อ หมู่เฮาอุตส่าห์ชี้ทางหื้อแล้ว เปิ้นบ่ายอมรับก็จ่างเปิ้นเตอะ

 
โดย : บอยเชียงของ    [Feedback +6 -0] [+1 -0]   [ 19 ] Thu 15, May 2014 09:42:02

 

ผมยอมรับว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์สามารถพิสูจน์อายุของโบราณได้ เช่นกันก็สามารถสร้างขึ้นมาได้ แต่ของแท้มีเอกลักษณ์เฉพาะอยู่แล้ว ถามว่าอย่างนี้ปลอมได้หรือ ถ้าได้ศึกษามากขึ้นก็จะพบว่ายิ่งกว่านี้ยังมีครับ อีกหนึ่งเสียงยืนยันพระองค์แรกครับ ผิดเนื้อ ผิดพิมพ์ครับ

 
โดย : Sangpan    [Feedback +8 -0] [+0 -0]   [ 20 ] Thu 15, May 2014 17:08:52

 
พระคงเขียวหินครก : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.