ฮู้ตันพระแท้-เก๊
ศึกษาวิธีดูพระกรุ กับ อาจารย์ อเล็ก พระกรุ บทที่ 5 เปรียบเทียบ นวลดินแท้นวลดินปลอม
|
|
|
|
|
|
เอาละ ต่อไปจะเป็นการศึกษาเปรียบเทียบ นวลดินแท้กับนวลดินปลอม ว่าจะมีข้อแตกต่างกันประการใด หลายคนอาจรู้สึกกลัวๆที่จะเล่นพระกรุ เพราะคิดว่าพระกรุนั้นดูยาก แต่แท้ที่จริงแล้วตรงกันข้าม ที่เรากลัวเพราะเราไม่เป็น คือดูไม่ออกแยกแยะไม่ได้ ไม่มีใครสอน แต่ให้เชื่อเถอะว่า เมื่อเราแยกแยะเป็นแล้ว ดูรู้แล้ว เราจะชอบพระกรุ เพราะพระกรุบอกอะไรเราได้หลายอย่าง เช่น ศิลปะ , ความเก่าที่ผ่านกาลเวลามานาน , ความมีเสน่ , เต็มไปด้วยพุทธคุณของคนโบราณ วันนี้อาจารย์ จะเอาเนื้อดินมาเปรียบเทียบและอธิบายเก๊แท้ให้ ในเรื่องของนวลดิน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลูกศิษที่รักลงผิดรูปขออภัยอย่างสูง สุมาเตอะเจ้า
|
|
|
โดย : alexanderulic [Feedback +17 -0] [+0 -0] |
|
[ 4 ] Thu 16, Aug 2012 11:29:49
|
|
|
|
อาจารย์ครับ ช่วยขยายความคำว่านึกนุ่ม และคำว่าสีนวลตา ให้หน่อยครับ จักขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงครับ
คือผมเข้าใจว่า...? การสร้างพระแต่ละรุ่นจำเป็นต้องมีมวลสารต่างๆหรือการใช้วัตถุดิบในการจัดสร้างนั้นจำเป็นไหมว่า ตัวแม่พิมพ์และสีของดินที่ใช้ต้องเหมือนกัน ในพระแต่ละองค์ เพราะเป็นการทำขึ้นพร้อมกัน (เหตุที่ถามนี้ : ผมเห็นตัวอย่างเช่น พระคงเขียว พระคงขาว พระคงแดง พระคงดำ ฯลฯ ที่สมัยนี้นิยมเรียกกัน แล้วเราจะเอาอะไรมาตัดสินครับว่าพระองค์นี้เก่า และแท้ ,
***ขออาจารย์ช่วยเพิ่มเติมด้วยครับ ขอบพระคุณครับ
|
|
|
โดย : วุฒิพรพระเหรียญ [Feedback +0 -0] [+0 -0] |
|
[ 5 ] Thu 16, Aug 2012 13:21:52
|
|
|
|
อาจารย์เพิ่งออกข้อสอบเสร็จ กะว่าจะข้อสอบกลางภาค แต่จะตอบคำถามของเธอ ก่อน เป็นคำถามที่ดีและเป็นคนแรกที่ถามข้อสงสัยตั่งแต่สอนมาไม่เคยมีใครเคยถามเลย ในใจอาจารย์อยากให้มีคำถาม อันนี้ขอชื่นชม
เอาละ มาเข้าใจกัน คำว่า สี กับ นึกนุ่มนวลตา ว่ามันต่างกันใหม ตอบว่า มันต่างกันไม่เหมือนกันแน่ นอน เพราะ คำว่าเนื้อพระหนึกนุ่มนวลตา หมายความว่ามันมีออกมาจากองค์พระโดยธรรมชาติอัตโนมัส ไม่มีใครไปเษกสรรปั้นแต่งนอกจากพระเก๊ และไม่เกียวกับสีว่าจะมีสีอะไร หรือว่าพระจะเคยถูกใช้มาหรือไม่ก็ตาม เพราะเป็นการเกิดขึ้นมาจากเนื้อพระ มวลสารที่ผ่านกาลเวลามาเป็นร้อยๆปี ส่วนคำว่า สีในเนื้อพระ ก็คือสีที่เกิดขึ้นจากดินที่เขาเอามาใช้ทำพระหนึ่ง อันที่สองเกิดจากการเผา คือเมื่อพระกดพิมพ์เสร็จแล้วตากให้แห้งแล้วนำไปเผาก็ทำให้เกิดสี ขึ้นมาได้ ดังนั้นสีก็สี หนึกนุ่มนวลตาก็อีกแบบ เขาเรียกว่านวลดิน แล้วดินที่เขานำมาทำพระแต่ละที่หรือสูตรมวลสารที่ใส่ มันคนละโซนอันนี้จริง แต่ไม่ว่าจะโซนใหนก็แล้วแต่ เหนือ อิสาน กลาง ใต้ ดินก็คือดินอยู่วันยังค่ำ เมื่อผ่านกาลเวลาเป็นร้อยๆปี มันก็จะแสดงความเก่าของเนื้ออยู่แล้ว ส่วนแม่พิมพ์มันก็เป็นของแต่ละที่คนละรุ่น พระคงก็พระคง พระบางก็พระบาง พระเปิมก็พระเปิม มันไม่เหมือนกันอยุ่แล้ว ขึ้นอยู่กับว่าพระในมือของเราเป็นพระอะไร เกิดว่าเป็นพระคง อยู่ดีๆพิมพ์ทรงมันผิดเพี้ยน ก็ต้องเป็นพระเก๊อยู่แล้ว ฉนั้น อาจารย์จึงย้ำตลอดตั่งแต่บทที่หนึ่งว่าเราต้องแม่นในพิมพ์ทรงเป็นอันดับแรก การดูพระเก๊แท้มันใช้หลายอย่างประกอบกัน เริ่มจาก พิมพ์ทรง ธรรมชาติความเก่า ตำหนิ เวลาเซียนเขาดูพระในสนาม เขาก็จะดูก่อนว่า องค์นั้นองค์นี้พิมพ์ทรงมันเข้าท่าหรือปล่าว ถ้าเข้าท่าเข้าทางก็หยิบมาส่องพิจารณาต่อ ถ้าไม่เข้าพิมพ์เข้าทรง ก็ไม่ต้องไปให้ความสนใจหยิบมาดู นี่เซียนแท้เขาดูแบบนี้ อันนี้ไปดูได้ในบทแรกๆที่อาจารย์สอน ใหนๆก็ใหน ถามถึงเรื่องสีพระคงก็จะตอบให้กระจ่างอีก ว่าเขาทำกันยังไง พระเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นแบบใหน เขาต้องเริ่มทำองค์ต้นแบบมาก่อนทั้งนั้น จะมี หนึ่งองค์ สององค์ หรือ สามองค์ ก็แล้วแต่เขาจะเรียกว่า องค์ต้นแบบ โสมุส ว่ามีองค์ต้นแบบอยู่สามองค์ก็คือสามพิมพ์ เช่น จุฬามณี ฤษีหลังนาง,ซุ้มเปลวเพลิงหนังนาง . ชินราชหลังนาง เป็นต้น เมื่อใด้องค์ต้นแบบมาแล้วก็เอาองค์ต้นแบบมากดพิมพ์ คือเอามาทำพิมพ์พระ เพราะฉนั้น ปล๊อกที่กดพระมันจะมีกี่ปล๊อกก็ได้ มี ร้อยปล๊อกก็ได้ พันปล๊อก ก็ได้ แต่จะต้องมีแค่สามพิมพ์เท่านั้น เข้าใจนะตรงนี้ จากนั้น เขาก็ผสมมวลสาร ผสมเสร็จก็เอาไปตากให้แห้งแล้วก็นำไปเผา วิธีการเผ่าพระแต่ละที่ก็ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะพูดแต่การเผาพระคงอย่างเดียว การเผ่าพระคงสมัยก่อนนั้นเขาเผ่าในหม้อดิน คือมีลักษณะเหมือนกับตุ่มน้ำ ที่คนเหนือเขาใสน้ำไว้หน้าบ้านคนผ่านไปผ่านมาจะได้กินน้ำ แบบเดียวกัน เขาจะเอาพระใส่จนเต็ม จากนั้นก็ก่อไฟเผาจากด้านล่าง เผานานเผากันเป็นวันๆ เอาละถึงตอนสำคัญแล้ว เมื่อเผาเสร็จ พระที่อยู่ล่างสุดมันโดนความร้อนโดยตรง ทำให้พระเกิดการหดตัว มีความแข็งและแกร่งที่สุดในหมอเดียวกัน มีสีเขียวมอย จึงเรียกว่าพระคงเขียว พระคงเขียวนี้จะมีขนาดเล็กสุด (ขนาดเล็กเกิดจากการโดนความร้อนทำให้พระหดตัวไม่ใช่เกิดจากแม่พิมพ์อันนี้ก็ต้องเข้าใจด้วย) ที่พระคงเขียวหายากเพราะปริมาณพระอยู่ที่ก้นหม้อมีจำนวนน้อย นั่นเอง ถัดมาต่อจากชั้นที่เป็นพระคงเขียวก็จะเป็น สีผ่าน จะผ่านแดงผ่านเหลือง หรือจะเรียกว่าเหลืองคลาบเขียว แดงคลาบเขียว อะไรก็แล้วแต่เกิดจากสีของดินบวกกับความร้อนที่โดน เช่นถ้าตอนที่ผสมเนื้อพระเกิดเอาดินแดงมาทำมากดเผาแล้วอยู่ในชั้นนี้ เขาก็เรียกว่า เขียวคลาบแดง หรือแดงคลาบเขียว ก็แล้วแต่ว่าจะมีของอะไรมากกว่ากัน ถัดจากชั้นสีผ่านมาแล้วก็จะอยู่ในชั้นสีทั่วไป ก็คือ สีแดง สีพิกุล พระในชั้นนี้ จะมีมากที่สุดก็เพราะ อยู่กลางหม้อดินหรือกลางตุ่มนั่นเอง ถัดมาอันสุดท้าย พระคงที่อยู่ปากหม่อหรือบนสุดอันนี้จะโดนความร้อนน้อยที่สุด จึงมีขนาดใหญ่กว่าเพื่อนเขาและมีสีขาวที่เราเรียกว่าพระคงขาว สาเหตุที่พระคงขาวหายากเหมือนกับพระคงเขียวก็เพราะปากหม้อมันมีน้อยพระอยู่บนสุด และก้นหม้อมีน้อยก็เพราะอยู่ล่างสุดนั่นเอง ส่วนพระคงดำเกิดมาในชั้นหลัง คือหลังจากที่เจดีหักพังลงมาพระกระจายตามพื้นดิน ชาวบ้านเผาป่าเพื่อปลูกพืชหรือมีการเผ่าอะไรก็แล้วแต่บังเอิลไปเผ่าเอาพระคงเข้า พระคงที่โดนไฟโดยตรงก็เป็นสีดำ เนื้อดำหายากเพราะเหตุการนี้ไม่ได้เกิดกับพระคงทุกองค์ (พระคงดำต้องถูกไฟเผ่ามาแต่เก่านะไม่ใช่เอามาเผากันตอนนี้เดียวจะกรายเป็นพระเก๊ไป)
จบคำตอบ ที่กระจ่างที่สุด
ปล อเล็ก พระกรุ เนื่องจากเป็นลูกเป็นผสม จึงมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาที่จำกัด โปรด อภัย
|
|
|
โดย : alexanderulic [Feedback +17 -0] [+0 -0] |
|
[ 6 ] Thu 16, Aug 2012 15:06:35
|
|
|
|
อาจารย์เพิ่งออกข้อสอบเสร็จ กะว่าจะข้อสอบกลางภาค แต่จะตอบคำถามของเธอ ก่อน เป็นคำถามที่ดีและเป็นคนแรกที่ถามข้อสงสัยตั่งแต่สอนมาไม่เคยมีใครเคยถามเลย ในใจอาจารย์อยากให้มีคำถาม อันนี้ขอชื่นชม
เอาละ มาเข้าใจกัน คำว่า สี กับ นึกนุ่มนวลตา ว่ามันแตกต่างกันใหม ตอบว่า มันแตกต่างกันคือไม่เหมือนกันแน่นอน เพราะ คำว่าเนื้อพระหนึกนุ่มนวลตา หมายความว่ามันมีออกมาจากองค์พระโดยธรรมชาติอัตโนมัส ไม่มีใครไปเษกสรรปั้นแต่งให้เกิดขึ้นมานอกจากพระเก๊ และไม่เกียวกับสีว่าจะมีสีอะไร หรือว่าพระจะเคยถูกใช้มาหรือไม่ก็ตาม เพราะเป็นการเกิดขึ้นมาจากเนื้อพระ มวลสารที่ผ่านกาลเวลามาเป็นร้อยๆปี ส่วนคำว่า สีในเนื้อพระนั้น ก็คือสีที่เกิดขึ้นจากดินที่เขาเอามาใช้ทำพระอันหนึ่ง อันที่สองเกิดจากการเผา คือเมื่อพระกดพิมพ์เสร็จแล้วตากให้แห้งแล้วนำไปเผาก็ทำให้เกิดสี ขึ้นมาได้ ดังนั้นสีก็คือสี หนึกนุ่มนวลตาก็คืออีกแบบ เขาเรียกว่านวลดิน ไม่เหมือนกัน แล้วดินที่เขานำมาทำพระแต่ละที่แต่หรือสูตรมวลสารที่ใส่ มันคนละโซนอันนี้ก็จริงอยู่ แต่ไม่ว่าจะเป็นโซนใหนก็แล้วแต่ เหนือ อิสาน กลาง ใต้ ดินก็คือดินอยู่วันยังค่ำ เมื่อผ่านกาลเวลามาเป็นร้อยๆปี มันก็จะแสดงความเก่าของเนื้อพระอยู่แล้ว ส่วนแม่พิมพ์มันก็เป็นของแต่ละที่แต่ละรุ่น พระคงก็พระคง พระบางก็พระบาง พระเปิมก็พระเปิม มันไม่เหมือนกันอยู่แล้ว ขึ้นอยู่กับว่าพระในมือของเราเป็นพระอะไรแบบใหน เกิดว่าเป็นพระคง อยู่ดีๆพิมพ์ทรงมันผิดเพี้ยน ก็ต้องเป็นพระเก๊อยู่แล้ว ฉนั้น อาจารย์จึงย้ำตลอดตั่งแต่บทที่หนึ่งว่าเราต้องแม่นในพิมพ์ทรงเป็นอันดับแรก การดูพระเก๊แท้มันใช้หลายอย่างประกอบกัน เริ่มจาก พิมพ์ทรง ธรรมชาติความเก่า ตำหนิ เวลาเซียนเขาดูพระในสนาม เขาก็จะดูก่อนว่า องค์นั้นองค์นี้พิมพ์ทรงมันเข้าท่าหรือปล่าว ถ้าเข้าท่าเข้าทางก็หยิบมาส่องพิจารณาต่อ ถ้าไม่เข้าพิมพ์เข้าทรง ก็ไม่ต้องไปให้ความสนใจหยิบมาดู นี่เซียนแท้เขาดูกันแบบนี้ อันนี้ไปศึกษาได้จากบทแรกๆที่อาจารย์สอน ใหนๆก็ใหนๆ ถามถึงเรื่องสีพระคงก็จะตอบให้กระจ่างอีกว่าเกิดสียังไง ทำกันยังไง พระเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นแบบใหน เขาต้องเริ่มทำองค์ต้นแบบขึ้นมาก่อนทั้งนั้น จะมี หนึ่งองค์ สององค์ หรือ สามองค์ ก็แล้วแต่เขาจะเรียกว่า องค์ต้นแบบ โสมุส ว่ามีองค์ต้นแบบอยู่สามองค์ก็คือสามพิมพ์สามรุ่น เช่น จุฬามณี ฤษีหลังนาง,ซุ้มเปลวเพลิงหนังนาง . ชินราชหลังนาง เป็นต้น เมื่อใด้องค์ต้นแบบมาแล้วก็เอาองค์ต้นแบบมากดพิมพ์ คือเอามาทำพิมพ์พระ เพราะฉนั้น ปล๊อกที่กดพระมันจะมีกี่ปล๊อกก็ได้ไม่จำกัด มีร้อยปล๊อกก็ได้ มีพันปล๊อกก็ได้ แต่จะต้องมีแค่สามพิมพ์เท่านั้น เข้าใจนะตรงนี้ จากนั้น เขาก็ผสมมวลสารแล้วก็นำมากดพิมพ์ กดเสร็จก็เอาไปตากให้แห้งแล้วก็นำไปเผา วิธีการเผ่าพระแต่ละที่ก็ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะพูดแต่การเผาพระคงอย่างเดียว การเผ่าพระคงสมัยก่อนนั้นเขาเผ่าในหม้อดิน คือมีลักษณะเหมือนกับตุ่มน้ำ ที่คนเหนือเขาใสน้ำไว้หน้าบ้านคนผ่านไปผ่านมาจะได้กินน้ำ แบบเดียวกัน เขาจะเอาพระใส่จนเต็ม จากนั้นก็ก่อไฟเผาจากด้านล่าง เผานานเผากันเป็นวันๆ เอาละถึงตอนสำคัญแล้ว เมื่อเผาเสร็จ พระที่อยู่ล่างสุดมันโดนความร้อนโดยตรง ทำให้พระเกิดการหดตัว มีความแข็งและแกร่งที่สุดในหมอเดียวกัน จะมีสีเขียวมอย จึงเรียกว่าพระคงเขียว พระคงเขียวนี้จะมีขนาดเล็กสุด (ขนาดเล็กเกิดจากการโดนความร้อนทำให้พระหดตัวไม่ใช่เกิดจากแม่พิมพ์อันนี้ก็ต้องเข้าใจด้วย) ที่พระคงเขียวหายากเพราะปริมาณพระอยู่ที่ก้นหม้อมีจำนวนน้อย นั่นเอง ถัดมาต่อจากชั้นที่เป็นพระคงเขียวก็จะเป็น สีผ่าน จะผ่านแดงผ่านเหลือง หรือจะเรียกว่าเหลืองคลาบเขียว แดงคลาบเขียว อะไรก็แล้วแต่เกิดจากสีของดินบวกกับความร้อนที่โดน เช่นถ้าตอนที่ผสมเนื้อพระเกิดเอาดินแดงมาทำมากดเผาแล้วอยู่ในชั้นนี้ เขาก็เรียกว่า เขียวคลาบแดง หรือแดงคลาบเขียว ก็แล้วแต่ว่าจะมีของอะไรมากกว่ากัน ถัดจากชั้นสีผ่านมาแล้วก็จะอยู่ในชั้นสีทั่วไป ก็คือ สีแดง สีพิกุล พระในชั้นนี้ จะมีมากที่สุดก็เพราะ อยู่กลางหม้อดินหรือกลางตุ่มนั่นเอง ถัดมาอันสุดท้าย พระคงที่อยู่ปากหม่อหรือบนสุดอันนี้จะโดนความร้อนน้อยที่สุด จึงมีขนาดใหญ่กว่าเพื่อนเขาและมีสีขาวที่เราเรียกว่าพระคงขาว สาเหตุที่พระคงขาวหายากเหมือนกับพระคงเขียวก็เพราะปากหม้อมันมีน้อยพระอยู่บนสุด และก้นหม้อมีน้อยก็เพราะอยู่ล่างสุดนั่นเอง ส่วนพระคงดำเกิดมาในชั้นหลัง คือหลังจากที่เจดีหักพังลงมาพระกระจายตามพื้นดิน ชาวบ้านเผาป่าเพื่อปลูกพืชหรือมีการเผ่าอะไรก็แล้วแต่บังเอิลไปเผ่าเอาพระคงเข้า พระคงที่โดนไฟโดยตรงก็เป็นสีดำ เนื้อดำหายากเพราะเหตุการนี้ไม่ได้เกิดกับพระคงทุกองค์ (พระคงดำต้องถูกไฟเผ่ามาแต่เก่านะไม่ใช่เอามาเผากันตอนนี้เดียวจะกรายเป็นพระเก๊ไป)
จบคำตอบ ที่กระจ่างที่สุด
ปล อเล็ก พระกรุ เนื่องจากเป็นลูกเป็นผสม จึงมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาที่จำกัด โปรด อภัย
|
|
|
โดย : alexanderulic [Feedback +17 -0] [+0 -0] |
|
[ 7 ] Thu 16, Aug 2012 15:25:44
|
|
|
|
ตอนแรกผมกะจะเลิกส่องพระแล้ว! มีอาจารย์คอยชี้แนะเลยกะว่าจะตั้งใจศึกษาพระกรุแบบจริงจังดูสักหน สำหรับผมเดิมทีการศึกษาพระกรุมันยากมากสำหรับตัวผมเอง ก็ได้คนดีๆแบบอาจารย์นี่หละช่วยให้ความรู้จริงกับทุกๆคนจึงขอนอบน้อมด้วยความเคารพ แล้วผมจะตั้งใจศึกษาครับ สวัสดีครับ
|
|
|
โดย : วุฒิพรพระเหรียญ [Feedback +0 -0] [+0 -0] |
|
[ 9 ] Thu 16, Aug 2012 20:54:19
|
|
|
|
ขอขอบพระคุณอย่างสูงครับ อาจารย์อเล็ก จากเทียนเล่มเล็กๆที่อาจารย์เป็นผู้จุดให้แสงสว่างเพื่อนำพาสู่ประตูแห่งแสงสว่าง
ผมจะตั้งใจศึกษาต่อไปครับอาจารย์
|
|
|
โดย : เชษฐ ลำพูน95 [Feedback +0 -0] [+0 -0] |
|
[ 10 ] Sat 18, Aug 2012 03:55:20
|
|
|
|
|
|
|
|