พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
อู้ได้ซะป๊ะเรื่อง

ภาพอดีตพระพิธีธรรมวัดพระสิงห์ 2496 (ลองใหม่)


ภาพอดีตพระพิธีธรรมวัดพระสิงห์ 2496 (ลองใหม่)

   
 

รูปพระพิธีธรรมและพระที่มาร่วมงานพุทธาภิเษกพระรอดวัดพระสิงห์ 

ปี พ.. 2496

 

ได้ภาพนี้มาจากวัดสุทัศน์ฯ อยู่ในกรอบอย่างดี เป็นภาพที่พระไปร่วมงานได้รับแจก

 
     
โดย : trin   [Feedback +0 -0] [+0 -0]   Thu 10, Mar 2011 19:18:42
 
 

มีรายนามพระที่ร่วมพิธีที่สืบค้นได้(มีหลักฐานอ้างอิง) ดังนี้

แถวนั่งจากซ้ายไปขวา

 

1.พระศรีสัจจญาณมุนีเถร(ประหยัด) วัดสุทัศน์ฯ คณะ 2 กรุงเทพฯ  (มือจับเข่า)

 

2. …………………..

 

3. ……………………

 

4.พระศรีสมโพธิ์(เสงี่ยม)คณะ 11 วัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ(สมเด็จพระพุฒาจารย์เอนกสถานปรีชา)

 

5.พระธรรมรานุวัตร์ (ฟู  อตชีโว) เจ้าคณะภาค 5 เจ้าอาวาส วัดพระสิงห์  เชียงใหม่

 

6.พระภาวนาภิราม (หลวงปู่นาค) วัดระฆัง กรุงเทพฯ

 

7.พระครูประสาธน์วิทยาคม(หลวงพ่อนอ จันทสโร)วัดกลางท่าเรือ อยุธยา

 

8. ………………………

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 1 ] Thu 10, Mar 2011 19:20:18

 

รูปพระพิธีธรรมและพระที่มาร่วมงานพุทธาภิเษกพระรอดวัดพระสิงห์ 

ปี พ.. 2496

 

ได้ภาพนี้มาจากวัดสุทัศน์ฯ อยู่ในกรอบอย่างดี เป็นภาพที่พระไปร่วมงานได้รับแจก

 

มีรายนามพระที่ร่วมพิธีที่สืบค้นได้(มีหลักฐานอ้างอิง) ดังนี้

 

แถวนั่งจากซ้ายไปขวา

 

1.พระศรีสัจจญาณมุนีเถร(ประหยัด) วัดสุทัศน์ฯ คณะ 2 กรุงเทพฯ  (มือจับเข่า)

 

2. …………………..

 

3. ……………………

 

4.พระศรีสมโพธิ์(เสงี่ยม)คณะ 11 วัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ

(สมเด็จพระพุฒาจารย์เอนกสถานปรีชา)

 

5.พระธรรมรานุวัตร์ (ฟู  อตชีโว) เจ้าคณะภาค 5 เจ้าอาวาส วัดพระสิงห์  เชียงใหม่

 

6.พระภาวนาภิราม (หลวงปู่นาค) วัดระฆัง กรุงเทพฯ

 

7.พระครูประสาธน์วิทยาคม(หลวงพ่อนอ จันทสโร)วัดกลางท่าเรือ อยุธยา

 

8. ………………………

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 2 ] Thu 10, Mar 2011 19:24:17

 

รูปพระพิธีธรรมและพระที่มาร่วมงานพุทธาภิเษกพระรอดวัดพระสิงห์  ปี พ.. 2496

 

ได้ภาพนี้มาจากวัดสุทัศน์ฯ อยู่ในกรอบอย่างดี เป็นภาพที่พระไปร่วมงานได้รับแจก

 

มีรายนามพระที่ร่วมพิธีที่สืบค้นได้(มีหลักฐานอ้างอิง) ดังนี้

 

 

แถวนั่งจากซ้ายไปขวา

 

1.พระศรีสัจจญาณมุนีเถร(ประหยัด) วัดสุทัศน์ฯ คณะ 2 กรุงเทพฯ  (มือจับเข่า)

 

2. …………………..

 

3. ……………………

 

4.พระศรีสมโพธิ์(เสงี่ยม)คณะ 11 วัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ(สมเด็จพระพุฒาจารย์เอนกสถานปรีชา)

 

5.พระธรรมรานุวัตร์ (ฟู  อตชีโว) เจ้าคณะภาค 5 เจ้าอาวาส วัดพระสิงห์  เชียงใหม่

 

6.พระภาวนาภิราม (หลวงปู่นาค) วัดระฆัง กรุงเทพฯ

 

7.พระครูประสาธน์วิทยาคม(หลวงพ่อนอ จันทสโร)วัดกลางท่าเรือ อยุธยา

 

8. ………………………

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 3 ] Thu 10, Mar 2011 19:26:45

 

แถวยืน 2 จากซ้ายไปขวา

 

1. หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน นครปฐม

 

2………………………………….

 

3…………………………………

 

4…………………………………..

 

5.หลวงพ่อทบ วัดชนแดน เพชรบูรณ์

 

6.พระครูสุนทรสังฆกิจ (หลวงพ่อลา ชยมังคโล) วัดแก่งคอย สระบุรี

 

7.หลวงพ่อพี (พี  เคหะนันท์ หรือรองเสวกโทหลวงตรุพรรคบริบาล) วัดสวนพลู  กรุงเทพฯ

 

8. พระครูไกรสรประสิทธิคุณ(หลวงพ่อจันทร์) วัดคลองระนง นครสวรรค์

 

 

แถวยืน 3 จากซ้ายไปขวา

 

1. พระครูหลี วัดสุทัศน์ กรุงเทพฯ

 

2.พระครูวัน  วัดสุทัศน์ คณะ 14 กรุงเทพฯ

 

3.พระครูพรหมวิหาร (หลวงพ่อเข็ม) วัดสุทัศน์ คณะ 8 กรุงเทพฯ

 

4.พระครูสิริธรรมสุนทร (เติม) วัดสุทัศน์ คณะ 7 กรุงเทพฯ

 

5……………………………………

 

6. ……………………………………

 

7.พระครูวิมลญาณประยุต(หนู ถาวโร)รองเจ้าอาวาส วัดพระสิงห์  เชียงใหม่

 

 

แถวยืนสุดท้ายในสุด จากซ้ายไปขวา

 

1. ……………………………………

 

2.หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ

 

3.พระครูธรรมสมาจารย์(หลวงปู่พัก ธมฺมทตฺโต)วัดบึงทองหลาง กรุงเทพฯ
 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 4 ] Thu 10, Mar 2011 19:27:56

 

ตามหลักฐานที่มาของพุทธสถานเริ่มจากการเผยแพร่ธรรมมะ ในลักษณะ "ปาฐกถา" ของท่านปัญญานันทะ ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๕๐๒ ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมที่ทำให้คนเมืองเชียงใหม่มาร่วมฟังธรรมะกัน อย่างมากมาย จึงมีความคิดร่วมกันที่จะสร้างสถานที่ถาวรสำหรับการแสดงปาฐกถาของท่านปัญญา นันทะ อีกทั้งใช้ประโยชน์ด้านพุทธศาสนาอื่นๆ สิ่งนั้น คือ การสร้างอาคารถาวรที่เรียกว่า "พุทธสถาน"โดย สมาคมพุทธนิคม นำโดยเจ้าชื่น สิโรรส , พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย สาขาเชียงใหม่ มีหลวงศรีประกาศเป็นนายกสมาคมและยุวพุทธิกสมาคม สาขาเชียงใหม่ มีนายชาญ สิโรรส บุตรของเจ้าชื่น สิโรรส เป็นนายกสมาคม รวมทั้งเจ้านายฝ่ายเหนือ ข้าราชการ พ่อค้า คหบดี นัดประชุมกันเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๙๔ มีผู้เข้าร่วมถึง ๑๒๓ คน ประธาน คือ พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะตรวจการภาค ๕ ส่วนผู้อาวุโสฝ่ายฆราวาส คือ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะนั้นเพิ่งย้ายมาดำรงตำหน่งข้าหลวงยุติธรรมภาค ๕ ในที่ประชุมมีการรับบริจาคเงินในที่ประชุมครั้งนั้นได้เงินถึง ๑ แสนเจ็ดพันบาทเศษ

 

สถานที่ก่อสร้างพุทธสถาน ที่ประชุมเห็นพ้องว่าสถานที่ที่เหมาะสม คือ บริเวณวัดอุปคุตพม่า ถนนท่าแพ ซึ่งขณะนั้นเป็นวัดร้าง ขาดการทำนุบำรุง สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒(พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘) ทหารญี่ปุ่นเคยเข้ามาพักอาศัยและนำฝาวิหารมาทำฟืนปรุงอาหารจนเสียหายมาก เดิมมีพระสังกัดพม่าอาศัยอยู่เพียงองค์เดียว

 

ต้นเดือนมกราคม ๒๔๙๕ มีข้อพิพาทกับ พระนิกายพม่า ที่ยืนยันความชอบธรรมที่มีสิทธิอาศัยที่วัดอุปคุต พม่า ท้ายสุดยอมรับและกลับไปอยู่ที่จังหวัดลำปาง

 

คณะทำงานได้ร่วมกันหาเงินมาก่อสร้างพุทธสถานซึ่งต้องใช้เงินถึง ๑ ล้าน ๒ แสนบาท โดยแบ่งคณะทำงานเป็นฝ่ายต่างๆ หลายฝ่าย วิธีการหนึ่ง คือ การสร้างพระรอดให้ประชาชนทั่วไปเช่าบูชา ผู้ที่เป็นหลักดำเนินการ คือ พ.ต.อ.ศิริ คชหิรัญ ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่(หัวหน้า)ในขณะนั้น ได้ติดต่อขออนุเคราะห์จาก พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย จัดพิธีสร้างพระเครื่องพระรอด พิธีปลุกเสกยิ่งใหญ่มีขึ้นที่วัดพระสิงห์ มีเกจิอาจารย์ทั่วประเทศมาร่วมพิธีในครั้งนั้น การให้เช่าพระรอดครั้งนั้นได้เงิน ๒๒๓,๖๘๘.๗๒ บาท

 

พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ นิมนต์พระเกจิจากทั่วประเทศมาร่วมพิธีปลุกเสก รวม ๑๐๘ รูปด้วยกัน ดังเช่น หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน อ. บางเลน จ.นครปฐม, หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว จ.สมุทรปราการ , หลวงพ่อรุ่ง วัด ท่ากระบือ จ.นครสวรรค์, อาจารย์แฉ่ง วัดบางพัง จ.นนทบุรี , อาจารย์ทบ อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์, พระครูโต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี เป็นต้น ทำการปลุกเสกยอดคาถาแห่งสูตรต่างๆ รวม ๓ วัน ๓ คืน จำนวนสร้างทั้งสิ้น ๘๔,๐๐๐ องค์พระรอดรุ่นนี้เน้นด้านมหานิยม คงกระพันชาตรี โภคทรัพย์ เป็นต้น พระรอดรุ่นนี้ เซียนพระมักเรียกกันว่า "พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์" 

 

พุทธสถานเชียงใหม่กระทำพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ..2496  เวลา 11.45 .สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑

 

ตามประวัติการสร้างพระรอดวัดพระสิงห์ พุทธาภิเศก เมื่อ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ..2496  ตรงกับวันขึ้น 10 ค่ำ เดือน7  ปีมะเส็ง จัตวาศก จุลศักราช 1315 เริ่มพิธีเวลา 9 นาฬิกา 21 นาที 41 วินาที และเริ่มจุดเทียนชัยเวลา 19.20 . โดยมีพล...เผ่า ศรียานนท์ เป็นประธาน ประกอบพิธีมหามงคล                                  ข้อมูลจาก นสพ.ไทยนิวส์ โดย พ.ต.ท.อนุ เนินหาด

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 5 ] Thu 10, Mar 2011 19:29:25

 

ตามหลักฐานที่มาของพุทธสถานเริ่มจากการเผยแพร่ธรรมมะ ในลักษณะ "ปาฐกถา" ของท่านปัญญานันทะ ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๕๐๒ ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมที่ทำให้คนเมืองเชียงใหม่มาร่วมฟังธรรมะกัน อย่างมากมาย จึงมีความคิดร่วมกันที่จะสร้างสถานที่ถาวรสำหรับการแสดงปาฐกถาของท่านปัญญา นันทะ อีกทั้งใช้ประโยชน์ด้านพุทธศาสนาอื่นๆ สิ่งนั้น คือ การสร้างอาคารถาวรที่เรียกว่า "พุทธสถาน"โดย สมาคมพุทธนิคม นำโดยเจ้าชื่น สิโรรส , พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย สาขาเชียงใหม่ มีหลวงศรีประกาศเป็นนายกสมาคมและยุวพุทธิกสมาคม สาขาเชียงใหม่ มีนายชาญ สิโรรส บุตรของเจ้าชื่น สิโรรส เป็นนายกสมาคม รวมทั้งเจ้านายฝ่ายเหนือ ข้าราชการ พ่อค้า คหบดี นัดประชุมกันเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๙๔ มีผู้เข้าร่วมถึง ๑๒๓ คน ประธาน คือ พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะตรวจการภาค ๕ ส่วนผู้อาวุโสฝ่ายฆราวาส คือ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะนั้นเพิ่งย้ายมาดำรงตำหน่งข้าหลวงยุติธรรมภาค ๕ ในที่ประชุมมีการรับบริจาคเงินในที่ประชุมครั้งนั้นได้เงินถึง ๑ แสนเจ็ดพันบาทเศษ

 

สถานที่ก่อสร้างพุทธสถาน ที่ประชุมเห็นพ้องว่าสถานที่ที่เหมาะสม คือ บริเวณวัดอุปคุตพม่า ถนนท่าแพ ซึ่งขณะนั้นเป็นวัดร้าง ขาดการทำนุบำรุง สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒(พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘) ทหารญี่ปุ่นเคยเข้ามาพักอาศัยและนำฝาวิหารมาทำฟืนปรุงอาหารจนเสียหายมาก เดิมมีพระสังกัดพม่าอาศัยอยู่เพียงองค์เดียว

 

ต้นเดือนมกราคม ๒๔๙๕ มีข้อพิพาทกับ พระนิกายพม่า ที่ยืนยันความชอบธรรมที่มีสิทธิอาศัยที่วัดอุปคุต พม่า ท้ายสุดยอมรับและกลับไปอยู่ที่จังหวัดลำปาง

 

คณะทำงานได้ร่วมกันหาเงินมาก่อสร้างพุทธสถานซึ่งต้องใช้เงินถึง ๑ ล้าน ๒ แสนบาท โดยแบ่งคณะทำงานเป็นฝ่ายต่างๆ หลายฝ่าย วิธีการหนึ่ง คือ การสร้างพระรอดให้ประชาชนทั่วไปเช่าบูชา ผู้ที่เป็นหลักดำเนินการ คือ พ.ต.อ.ศิริ คชหิรัญ ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่(หัวหน้า)ในขณะนั้น ได้ติดต่อขออนุเคราะห์จาก พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย จัดพิธีสร้างพระเครื่องพระรอด พิธีปลุกเสกยิ่งใหญ่มีขึ้นที่วัดพระสิงห์ มีเกจิอาจารย์ทั่วประเทศมาร่วมพิธีในครั้งนั้น การให้เช่าพระรอดครั้งนั้นได้เงิน ๒๒๓,๖๘๘.๗๒ บาท

 

พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ นิมนต์พระเกจิจากทั่วประเทศมาร่วมพิธีปลุกเสก รวม ๑๐๘ รูปด้วยกัน ดังเช่น หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน อ. บางเลน จ.นครปฐม, หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว จ.สมุทรปราการ , หลวงพ่อรุ่ง วัด ท่ากระบือ จ.นครสวรรค์, อาจารย์แฉ่ง วัดบางพัง จ.นนทบุรี , อาจารย์ทบ อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์, พระครูโต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี เป็นต้น ทำการปลุกเสกยอดคาถาแห่งสูตรต่างๆ รวม ๓ วัน ๓ คืน จำนวนสร้างทั้งสิ้น ๘๔,๐๐๐ องค์พระรอดรุ่นนี้เน้นด้านมหานิยม คงกระพันชาตรี โภคทรัพย์ เป็นต้น พระรอดรุ่นนี้ เซียนพระมักเรียกกันว่า "พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์" 

 

พุทธสถานเชียงใหม่กระทำพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ..2496  เวลา 11.45 .สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑

 

ตามประวัติการสร้างพระรอดวัดพระสิงห์ พุทธาภิเศก เมื่อ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ..2496  ตรงกับวันขึ้น 10 ค่ำ เดือน7  ปีมะเส็ง จัตวาศก จุลศักราช 1315 เริ่มพิธีเวลา 9 นาฬิกา 21 นาที 41 วินาที และเริ่มจุดเทียนชัยเวลา 19.20 . โดยมีพล...เผ่า ศรียานนท์ เป็นประธาน ประกอบพิธีมหามงคล                                  ข้อมูลจาก นสพ.ไทยนิวส์ โดย พ.ต.ท.อนุ เนินหาด

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 6 ] Thu 10, Mar 2011 19:30:37

 

ตามหลักฐานที่มาของพุทธสถานเริ่มจากการเผยแพร่ธรรมมะ ในลักษณะ "ปาฐกถา" ของท่านปัญญานันทะ ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๕๐๒ ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมที่ทำให้คนเมืองเชียงใหม่มาร่วมฟังธรรมะกัน อย่างมากมาย จึงมีความคิดร่วมกันที่จะสร้างสถานที่ถาวรสำหรับการแสดงปาฐกถาของท่านปัญญา นันทะ อีกทั้งใช้ประโยชน์ด้านพุทธศาสนาอื่นๆ สิ่งนั้น คือ การสร้างอาคารถาวรที่เรียกว่า "พุทธสถาน"โดย สมาคมพุทธนิคม นำโดยเจ้าชื่น สิโรรส , พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย สาขาเชียงใหม่ มีหลวงศรีประกาศเป็นนายกสมาคมและยุวพุทธิกสมาคม สาขาเชียงใหม่ มีนายชาญ สิโรรส บุตรของเจ้าชื่น สิโรรส เป็นนายกสมาคม รวมทั้งเจ้านายฝ่ายเหนือ ข้าราชการ พ่อค้า คหบดี นัดประชุมกันเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๙๔ มีผู้เข้าร่วมถึง ๑๒๓ คน ประธาน คือ พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะตรวจการภาค ๕ ส่วนผู้อาวุโสฝ่ายฆราวาส คือ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะนั้นเพิ่งย้ายมาดำรงตำหน่งข้าหลวงยุติธรรมภาค ๕ ในที่ประชุมมีการรับบริจาคเงินในที่ประชุมครั้งนั้นได้เงินถึง ๑ แสนเจ็ดพันบาทเศษ

 

สถานที่ก่อสร้างพุทธสถาน ที่ประชุมเห็นพ้องว่าสถานที่ที่เหมาะสม คือ บริเวณวัดอุปคุตพม่า ถนนท่าแพ ซึ่งขณะนั้นเป็นวัดร้าง ขาดการทำนุบำรุง สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒(พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘) ทหารญี่ปุ่นเคยเข้ามาพักอาศัยและนำฝาวิหารมาทำฟืนปรุงอาหารจนเสียหายมาก เดิมมีพระสังกัดพม่าอาศัยอยู่เพียงองค์เดียว

 

ต้นเดือนมกราคม ๒๔๙๕ มีข้อพิพาทกับ พระนิกายพม่า ที่ยืนยันความชอบธรรมที่มีสิทธิอาศัยที่วัดอุปคุต พม่า ท้ายสุดยอมรับและกลับไปอยู่ที่จังหวัดลำปาง

 

คณะทำงานได้ร่วมกันหาเงินมาก่อสร้างพุทธสถานซึ่งต้องใช้เงินถึง ๑ ล้าน ๒ แสนบาท โดยแบ่งคณะทำงานเป็นฝ่ายต่างๆ หลายฝ่าย วิธีการหนึ่ง คือ การสร้างพระรอดให้ประชาชนทั่วไปเช่าบูชา ผู้ที่เป็นหลักดำเนินการ คือ พ.ต.อ.ศิริ คชหิรัญ ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่(หัวหน้า)ในขณะนั้น ได้ติดต่อขออนุเคราะห์จาก พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย จัดพิธีสร้างพระเครื่องพระรอด พิธีปลุกเสกยิ่งใหญ่มีขึ้นที่วัดพระสิงห์ มีเกจิอาจารย์ทั่วประเทศมาร่วมพิธีในครั้งนั้น การให้เช่าพระรอดครั้งนั้นได้เงิน ๒๒๓,๖๘๘.๗๒ บาท

 

พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ นิมนต์พระเกจิจากทั่วประเทศมาร่วมพิธีปลุกเสก รวม ๑๐๘ รูปด้วยกัน ดังเช่น หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวัน อ. บางเลน จ.นครปฐม, หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว จ.สมุทรปราการ , หลวงพ่อรุ่ง วัด ท่ากระบือ จ.นครสวรรค์, อาจารย์แฉ่ง วัดบางพัง จ.นนทบุรี , อาจารย์ทบ อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์, พระครูโต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี เป็นต้น ทำการปลุกเสกยอดคาถาแห่งสูตรต่างๆ รวม ๓ วัน ๓ คืน จำนวนสร้างทั้งสิ้น ๘๔,๐๐๐ องค์พระรอดรุ่นนี้เน้นด้านมหานิยม คงกระพันชาตรี โภคทรัพย์ เป็นต้น พระรอดรุ่นนี้ เซียนพระมักเรียกกันว่า "พระรอดรุ่นวัดพระสิงห์" 

 

พุทธสถานเชียงใหม่กระทำพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ..2496  เวลา 11.45 .สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑

 

ตามประวัติการสร้างพระรอดวัดพระสิงห์ พุทธาภิเศก เมื่อ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ..2496  ตรงกับวันขึ้น 10 ค่ำ เดือน7  ปีมะเส็ง จัตวาศก จุลศักราช 1315 เริ่มพิธีเวลา 9 นาฬิกา 21 นาที 41 วินาที และเริ่มจุดเทียนชัยเวลา 19.20 . โดยมีพล...เผ่า ศรียานนท์ เป็นประธาน ประกอบพิธีมหามงคล

 

        ข้อมูลจาก นสพ.ไทยนิวส์ โดย พ.ต.ท.อนุ เนินหาด

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 7 ] Thu 10, Mar 2011 19:31:41

 
 

ตามเอกสารใบประกาศของพุทธสถานมีรายชื่อหลวงพ่ออีกหลายท่านที่มาร่วมพิธีแต่มีข้อสังเกตดังนี้

 

 

-จากใบปลิวมีรายชื่อ พระเถระที่ร่วมพิธี 28 รูป แต่ภาพถ่ายมี 26 รูป

 

ไม่พบรูปพระครูปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี  และหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ

 

 

 

-รายชื่อที่ 10 พระครูวิสุทธิ์สังศรี วัดเหนือ กาจนบุรี เป็นคนละองค์กับ หลวงพ่อเปลี่ยนวัดใต้

 

(คำโบราณ จีบสาวให้ไปวัดเหนือ(มหานิยม) ถ้าจะเป็นเสือให้ไปวัดใต้(เหนียว))

 

-หลวงพ่อเปลี่ยน วัดไชยชุมพลชนะสงคราม (วัดใต้) มรณภาพ ปี 2490 มรณภาพไปก่อนแล้ว 6 ปี

 

 

-หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ  (หลวงพ่อวัดปากน้ำฯ ได้บอกแก่ศิษยานุศิษย์เมื่ออายุได้ 70 ปี ว่า

 

อีก 5 ปีข้างหน้าท่านจะละสังขาร ต่อมาอีกราว 3 ปี ท่านเริ่มอาพาธเรื่อยมาอย่างต่อเนื่องกว่า ๒ ปีเศษ แม้ว่าจะอาพาธ ท่านก็มิได้แสดงอาการรันทดใจใดๆ เลย ท่านยังคงต้อนรับแขกด้วยอาการยิ้มแย้มเสมอ เวลาจะลุกจะนั่งท่านไม่พอใจให้ใครไปช่วยเหลือ ท่านพอใจทำเองผู้อื่นคอยตามเพื่อช่วยเหลือเวลาท่านเซไปเท่านั้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ เวลา ๑๕.๐๕ น. พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำฯ ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ณ ตึกมงคลจันทสร วัดปากน้ำภาษีเจริญ สิริอายุได้ ๗๔ ปี ๓ เดือน ๒๔ วัน นับอายุพรรษาได้ ๕๓ พรรษา..................................................  บทความจาก วิกิพีเดีย )

 

 

-รายชื่อพระเถระตามภาพที่เหลือ ยังพยายามหารายชื่อให้ตรงกับภาพจากผู้รู้ ปัจจุบันผมพอจะหาได้เท่านี้

 

 

ผู้ใดมีรายละเอียดหลักฐานเพิ่มเติมของพระที่ร่วมพิธี หรือมีขอข้อคิดเห็นประการใด ช่วยเติมเต็มให้พิธีประวัติศาสตร์นี้ด้วยครับ

 

 

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 8 ] Thu 10, Mar 2011 19:38:30









 

มีภาพหลวงปู่ทำพิธีอยู่แต่ที่วัดพระสิงห์หรือไม่ไม่ยืนยัน

 
โดย : trin    [Feedback +0 -0] [+0 -0]   [ 9 ] Thu 10, Mar 2011 19:45:09

 

รูปภาพ เหล่านี้มีเยอะใหมครับ พอแบ่งได้ใหมครับ 0876590559

 
โดย : ว.วิปัสนา    [Feedback +9 -0] [+0 -0]   [ 10 ] Fri 11, Mar 2011 07:00:54

 
ภาพอดีตพระพิธีธรรมวัดพระสิงห์ 2496 (ลองใหม่) : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.